Page 78 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 78
308 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
ตารางที่ 1 เกณฑ์การจัดลำาดับความสำาคัญด้านสุขภาพ ในระดับประเทศ
นโยบาย หัวข้อ หัวข้อ สิทธิ
หลักเกณฑ์การคัดเลือก สุขภาพ วิจัย วิจัย ประโยชน์
WHO (8) ENHR (7) MOPH (9) NHSO (10)
จำานวนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโรคหรือปัญหาสุขภาพ/ 3 3 3 3
ขนาดของปัญหา/ภาระโรค
ความรุนแรงของโรคหรือปัญหาสุขภาพ 3 3
ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้านสุขภาพ/ความเป็นไปได้ 3 3 3
ในการลดปัญหา
ความแตกต่างในทางปฏิบัติ/มีความหลากหลายในทาง 3 3 3
ปฏิบัติหรือมีความไม่เสมอภาคระหว่างผู้ป่วย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของครัวเรือน 3
ความเป็นธรรมและประเด็นทางสังคมและจริยธรรม/ 3 3 3 3
ผลกระทบด้านสังคมที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยี/นโยบาย
หรือโรคที่เกี่ยวข้อง
ผลการประเมินมีแนวโน้มถูกนำาไปใช้ในเชิงนโยบาย/ 3
ความเป็นไปได้ในการนำาไปเปลี่ยนแปลงในระดับปฏิบัติ
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจจากเทคโนโลยี/นโยบาย 3
หรือโรคที่เกี่ยวข้อง
ไม่เคยมีผู้ทำาวิจัยเช่นนี้มาก่อนในประเทศไทย 3
เป็นที่สนใจของสาธารณะ 3 3
ความคุ้มค่า 3 3 3
ความยั่งยืน 3
ระดับความสามารถในการวิจัย 3
ค่าใช้จ่ายของนโยบาย/เทคโนโลยี/ยา 3
การยอมรับของนโยบาย/เทคโนโลยี/ยา 3
คณะกรรมการแห่งชาติด้านยาได้แต่งตั้งคณะ (efficacy) มีนำ้าหนักความสำาคัญ 5 หน่วย ความปลอดภัย
อนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติให้ปรับปรุง (safety) นำ้าหนักความสำาคัญ 5 หน่วย ต้นทุนการรักษา
บัญชียาหลักแห่งชาติ จึงมีการพัฒนาเกณฑ์การคัด นำ้าหนักความสำาคัญ 4 หน่วย ศักยภาพในการผลิต
เลือกยาเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อ ภายในประเทศ (local availability) นำ้าหนักความ
ตอบสนองกับบริบทของประเทศที่มีปัญหาด้าน สำาคัญ 3 หน่วย ความร่วมมือการใช้ยา (patient
เศรษฐกิจ โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกทั้งหมด 6 ข้อ compliance) นำ้าหนักความสำาคัญ 3 หน่วย และข้อ
[12]
ในแต่ละข้อมีคะแนน 1-5 แต่มีการให้นำ้าหนักความ พิจารณาอื่น ๆ นำ้าหนักความสำาคัญ 1 หน่วย รวมทั้ง
สำาคัญลดหลั่นกันไป ประกอบด้วย ประสิทธิผล สิ้น 21 หน่วย นอกจากนี้ยังกำาหนดประเภทบัญชีของ