Page 236 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 236

466 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




                จากการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับยา  และค่าเฉลี่ย BUN และ creatinine ของหนูแรทที่ได้
           มาตรฐานและกลุ่มควบคุมที่ได้รับอาหารไขมันสูง พบ  รับอาหารที่มีไขมันสูงทั้ง 6 กลุ่ม ไม่แตกต่างกันตลอด

           ว่าระดับคอเลสเตอรอลและ LDL ของหนูกลุ่มที่ได้รับ  ระยะเวลา 12 สัปดาห์ (ภาพที่ 1 และภาพที่ 2)
                         ่
           ยามาตรฐานมีค่าตำากว่าหนูกลุ่มควบคุมที่ได้รับอาหาร
           ไขมันสูงตลอดการศึกษา โดยระดับคอเลสเตอรอลมี  5. ผลต่อสุขภ�พทั่วไป
               ่
           ค่าตำากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p <      หนูที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงทุกกลุ่มมีอาการ
           0.05) ที่เวลา 4, 6, 8, 10 และ 12 สัปดาห์ ซึ่งมีค่าตำา ่  หรือพฤติกรรมไม่แตกต่างจากกลุ่มหนูปกติ คือ ไม่
           กว่ากลุ่มควบคุม 64, 62, 61, 62 และ 72 มิลลิกรัม/  พบความผิดปกติของดวงตา จมูก ลักษณะขนและ

           เดซิลิตร (มก./ดล.) ตามลำาดับ (ตารางที่ 1) ส่วนระดับ   ผิวหนัง รูทวาร สีของเยื่อเมือก ปัสสาวะ อุจจาระ การ
                    ่
           LDL มีค่าตำากว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญทาง  หายใจ การเดิน และการทรงตัว
           สถิติ (p < 0.05) ที่เวลา 4, 6, 8, 10 และ 12 สัปดาห์
                  ่
           ซึ่งมีค่าตำากว่ากลุ่มควบคุม 65, 47, 37, 40 และ 43   6. ผลต่อก�รเจริญเติบโตและก�รกินอ�ห�ร
           มก./ดล. ตามลำาดับ (ตารางที่ 2)                  หนูปกติและหนูกลุ่มที่ได้รับอาหารสัตว์ทดลอง

                                                       ที่มีไขมันสูงทั้ง 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม กลุ่มที่ได้
           4. ผลต่อก�รทำ�ง�นของตับและไต                รับยามาตรฐานและกลุ่มที่ได้รับสารสกัดส้มป่อย มีนำ้า

                หนูทุกกลุ่มที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงมีค่าเฉลี่ย   หนักตัวเฉลี่ยและปริมาณการกินอาหารเฉลี่ยเริ่มต้น

           AST, ALT และ ALP (ภาพที่ 1) และค่าเฉลี่ย BUN   ไม่แตกต่างกัน นำ้าหนักตัวเฉลี่ยและปริมาณการกิน
           และ creatinine (ภาพที่ 2) เริ่มต้นไม่แตกต่างกันเมื่อ  อาหารเฉลี่ยของหนูทั้ง 7 กลุ่มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญ

           เทียบกับหนูปกติ หนูแต่ละกลุ่มหลังจากได้รับอาหาร  ทางสถิติ (p < 0.05) โดยหนูที่ได้รับอาหารสัตว์ทดลอง
           ที่มีไขมันสูงพร้อมกับนำ้าหรือยามาตรฐานหรือสารสกัด  ที่มีไขมันสูงทั้ง 6 กลุ่ม มีการเพิ่มขึ้นของนำ้าหนักตัว
           ส้มป่อย มีค่าเฉลี่ย ALP เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 1ค) และค่า  เฉลี่ยและปริมาณการกินอาหารเฉลี่ยน้อยกว่าหนู

           เฉลี่ย BUN ลดลง (ภาพที่ 2ก) อย่างมีนัยสำาคัญทาง  ปรกติตลอดการศึกษา โดยนำ้าหนักตัวและปริมาณการ
           สถิติ (p < 0.05) ทุกระยะเวลาตลอดการศึกษาเมื่อ  กินอาหารที่เพิ่มขึ้นของหนูที่มีไขมันสูงทั้ง 6 กลุ่ม ใน
           เทียบกับหนูปกติ ส่วนค่าเฉลี่ย AST และ ALT ในหนู  แต่ละสัปดาห์ไม่แตกต่างกัน

           กลุ่มได้รับอาหารไขมันสูงทุกกลุ่มมีแนวโน้มสูงกว่าค่า
           ของหนูปกติ (ภาพที่ 1ก และ 1ข) ค่าเฉลี่ย ALT ใน            อภิปร�ยผล
           กลุ่มที่ได้รับ อะทอร์วาสแตติน (atorvastatin) สูงกว่า     อนุมูลอิสระมีบทบาทสำาคัญในการก่อให้เกิดโรค

           หนูปกติมาก แต่ไม่มีนัยสำาคัญทางสถิติ (ภาพที่ 1ข)   ต่าง ๆ มากมาย รวมถึงโรคหลอดเลือดแดงแข็ง ซึ่ง
           นอกจากนี้ยังพบว่าระดับ creatinine เฉลี่ยมีค่าเพิ่ม  เป็นสาเหตุสำาคัญของการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดและ

           ขึ้นในหนูทุกกลุ่ม รวมทั้งกลุ่มควบคุมที่ได้รับอาหาร  โรคหลอดเลือดของสมอง ไฮดรอกซิลและซุปเปอร์-
           ไขมันสูงและหนูปกติ แต่ไม่แตกต่างกันระหว่างกลุ่ม   ออกไซด์เป็นอนุมูลอิสระที่ว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา
           (ภาพที่ 2ข) อย่างไรก็ตาม ค่าเฉลี่ย AST, ALT, ALP   ทางเคมีกับสารชีวโมเลกุลหลายชนิดของร่างกาย ใน
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241