Page 235 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 235
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 465
197.54 ± 4.22 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ส่วนสาร รับอาหารที่มีไขมันสูงมีค่าเฉลี่ยคอเลสเตอรอล
มาตรฐาน trolox มีค่า IC เท่ากับ 128.45 ± 4.22 ไตรกลีเซอร์ไรด์ HDL และ LDL เริ่มต้นไม่แตกต่าง
50
ไมโครกรัม/มิลลิลิตร แสดงให้เห็นว่าสารสกัดส้มป่อย กัน หนูทุกกลุ่มที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงมีค่าเฉลี่ย
มีฤทธิ์ต้านอนุมูลไฮดรอกซิลได้น้อยกว่า trolox โดย คอเลสเตอรอลและ LDL เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญ
มีความแรงในการต้านการเกิดปฎิกิริยาออกซิเดชัน ทางสถิติ (p < 0.05) หลังจากได้รับอาหารที่มีไขมันสูง
(TEAC) เป็น 0.65 เท่า เมื่อเทียบอนุพันธ์วิตามินอี ตลอดทุกช่วงเวลาที่ติดตามผลทุก 2 สัปดาห์ (ตารางที่
(trolox) ต่อกรัมของตัวอย่างสารสกัด 1 และ 2) และค่าเฉลี่ย HDL ลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ
สารสกัดส้มป่อยมีฤทธิ์ต้านอนุมูลซุปเปอร์- ทางสถิติ (p < 0.05) หลังจากได้รับอาหารที่มีไขมันสูง
ออกไซด์ตามความเข้มข้นที่ใช้ทดสอบ โดยมีค่า IC 50 เป็นเวลา 4-12 สัปดาห์ (ตารางที่ 3) เมื่อเทียบกับหนู
เท่ากับ 44.90 ± 4.17 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ส่วนสาร ที่ได้รับอาหารปกติ ขณะที่ค่าเฉลี่ยไตรกลีเซอร์ไรด์ไม่
มาตรฐาน gallic acid มีค่า IC เท่ากับ 11.77 ± 0.56 เปลี่ยนแปลงตลอดการทดลอง
50
ไมโครกรัม/มิลลิลิตร แสดงให้เห็นว่าสารสกัดส้มป่อย จากการเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับ
สามารถต้านอนุมูลซุปเ ปอร์ออกไซด์ได้ปานกลาง เมื่อ ไขมันในเลือดระหว่างกลุ่มที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูง
เทียบกับ gallic acid ซึ่งต้านอนุมูลซุปเปอร์ออกไซด์ พบว่าค่าเฉลี่ยคอเลสเตอรอลและ LDL ของหนูกลุ่ม
ได้ดี ที่ได้รับอะทอร์วาสแตติน หรือกลุ่มที่ได้รับสารสกัด
ส้มป่อยขนาด 200-800 มก./กก./วัน เป็นเวลา 4, 6,
2. ผลก�รทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ HMG- 8, 10 และ 12 สัปดาห์ มีค่าตำากว่าหนูกลุ่มควบคุม
่
CoA reductase ที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
สารสกัดส้มป่อยสามารถยับยั้งเอนไซม์ HMG- (p < 0.05) (ตารางที่ 1 และ 2) ขณะที่หนูกลุ่มที่ได้
CoA reductase ตามความเข้มข้นที่ใช้ทดสอบ โดย รับสารสกัดส้มป่อยขนาด 100 มก./กก./วัน มีระดับ
มีค่า IC เท่ากับ 71.38 ± 5.8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร คอเลสเตอรอล และ LDL ที่เพิ่มขึ้นไม่แตกต่างจาก
50
สารสกัดส้มป่อยขนาด 100 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มีผล กลุ่มควบคุม และการลดลงของระดับคอเลสเตอรอล
ยับยั้งการทำางานของเอนไซม์ HMG-CoA reductase และ LDL ในหนูกลุ่มที่ได้รับสารสกัดส้มป่อยมีแนว
คิดเป็นร้อยละ 84.30 ± 1.05 ขณะที่ยาพราวาสแตติน โน้มเป็นการเปลี่ยนแปลงที่แปรตามขนาดของสาร
0.5 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ซึ่งเป็นสารควบคุมบวกมีผล สกัดที่ให้ ระดับคอเลสเตอรอลและ LDL ของหนูกลุ่ม
ยับยั้งการทำางานของเอนไซม์นี้คิดเป็นร้อยละ 90.55 ± ที่ได้รับสารสกัดส้มป่อยขนาด 200, 400 และ 800 มก./
่
1.08 แสดงให้เห็นว่าสารสกัดส้มป่อยขนาดสูงกว่ายา กก./วัน มีแนวโน้มตำากว่าหนูกลุ่มที่ได้รับยามาตรฐาน
มาตรฐานมากจึงสามารถยับยั้งเอนไซม์ได้ใกล้เคียง อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างดังกล่าวระหว่างกลุ่มที่ได้
กับยาพราวาสแตติน รับสารสกัดส้มป่อยและกลุ่มที่ได้รับอะทอร์วาสแตติน
ไม่มีนัยสำาคัญทางสถิติ ขณะที่ค่าเฉลี่ยไตรกลีเซอร์ไรด์
3. ผลต่อระดับไขมันในเลือด และ HDL ของหนูแรทระหว่างกลุ่มที่ได้รับอาหารที่มี
หนูที่ได้รับอาหารปกติและหนูทุกกลุ่มที่ได้ ไขมันสูงทั้ง 6 กลุ่มไม่แตกต่างกันตลอดการศึกษา