Page 241 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 241

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  471




            มีความสำาคัญในการช่วยป้องกันการทำาลายเซลล์แบบ  ในเลือดลดลง จึงมีการศึกษาฤทธิ์ลดไขมันในเลือด
            ออกซิเดซัน เช่น การทำาลายเยื่อหุ้มเซลล์ (lipid    ของสารสกัดส้มป่อยต่อในสัตว์ทดลอง และใช้อะทอร์-

            peroxidaton) และแทนนินยับยั้งการเกิดอนุมูล  วาสแตตินซึ่งเป็นยาลดไขมันในเลือดที่ออกฤทธิ์ยับยั้ง
            ซุปเปอร์ออกไซด์ มีหลักฐานมากขึ้นเกี่ยวกับสารที่พบใน   เอนไซม์ HMG-CoA reductase เป็นกลุ่มควบคุม
                                                  [23]
            พืช มีประโยชน์ต่อสุขภาพโดยช่วยลดคอเลสเตอรอล    บวก จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าใบส้มป่อยมีสาร
            ได้แก่ แทนนินซึ่งเป็นสารกลุ่มฟีนอลิกที่มีรายงานว่ามี  สำาคัญ คือ วิตามินเอ บีตาแคโรทีน และบีตาแคโรทีน
            ฤทธิ์ลดไขมัน [22,24]  ส่วนแซโพนินซึ่งเป็นสารกลุ่มเทอร์-   รวม ในปริมาณสูงมากกว่าผักพื้นบ้านทั้งหลาย แต่ใน
            พีนอยด์หรือสเตอรอยด์ก็มีรายงานว่ามีฤทธิ์ลดไขมัน  การศึกษานี้ใช้สารสกัดด้วยนำ้าจากใบส้มป่อย จึงไม่น่า

            เช่นกัน [23,25-26]  นอกจากนี้ ยังมีรายงานว่าแซโพนินมี  จะได้สารกลุ่มนี้ออกมาในสารสกัดเพราะเป็นสารที่ไม่
            ประสิทธิผลในการป้องกันภาวะไขมันในเลือดสูง โดย  ละลายนำ้า ดังนั้น ฤทธิ์ดักจับอนุมูลซุปเปอร์ออกไซด์
            ฤทธิ์ลดระดับไขมันในเลือดของแซโพนินอาจเนื่องจาก  หรือฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ HMG-CoA reductase ของ

            การยับยั้งการดูดซึมคอเลสเตอรอลในลำาไส้เล็ก ทำาให้  สารสกัดใบส้มป่อย ไม่น่าจะเกิดจากสารกลุ่มนี้
            เพิ่มการขับถ่ายคอเลสเตอรอลทางอุจจาระ [23,26]  การ     การทดสอบผลของสารสกัดส้มป่อยต่อระดับ

            ต้านออกซิเดซันของทั้งแทนนินและแซโพนินที่พบใน  ไขมันในเลือดของหนูที่เหนี่ยวนำาให้มีระดับไขมันใน
            สารสกัดส้มป่อย อาจมีส่วนช่วยลดการเกิดพยาธิ-  เลือดสูง พบว่าสารสกัดส้มป่อยขนาด 200, 400 และ
            สภาพที่เป็นผลจากอนุมูลอิสระ จึงลดความเสี่ยงต่อ  800 มก./กก./วัน สามารถลดระดับคอเลสเตอรอลและ

            การเกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง จากการศึกษาผล   LDL ได้ในปริมาณใกล้เคียงกันกับยาอะทอร์วาสแตติน
            ต่อการทำางานของเอนไซม์ HMG-CoA reductase    20 มก./กก./วัน และฤทธิ์ดังกล่าวของสารสกัด

            พบว่า สารสกัดส้มป่อยสามารถยับยั้งเอนไซม์ HMG-  ส้มป่อยมีแนวโน้มแปรตามขนาดของสารสกัดที่ให้
            CoA reductase ร้อยละ 84.30 ± 1.05 (IC  = 71.38   แสดงให้เห็นว่าสารสกัดส้มป่อยสามารถลดระดับ
                                            50
            ± 5.8 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) และยาพราวาสแตติน  คอเลสเตอรอลและ LDL ในหนูที่เหนี่ยวนำาให้ไขมัน

            ยับยั้งเอนไซม์นี้ ร้อยละ 90.55 ± 1.08 เนื่องจาก  ในเลือดสูงได้ การแสดงฤทธิ์ลดไขมันในเลือดของ
            ส้มป่อยเป็นสารสกัดหยาบจึงใช้ขนาดสูงกว่ายา   สารสกัดส้มป่อย อย่างน้อยอาจมีกลไกการออกฤทธิ์
            มาตรฐานมากในการยับยั้งเอนไซม์ใกล้เคียงกัน แม้ว่า  ผ่านการยับยั้งเอนไซม์ HMG-CoA reductase เช่น

            การศึกษานี้เป็นการทำางานของเอนไซม์ภายนอก    เดียวกันกับกลไกการออกฤทธิ์ลดการสังเคราะห์
            ร่างกาย (in vitro) ซึ่งฤทธิ์ดังกล่าวอาจจะเหมือนหรือ  คอเลสเตอรอลของอะทอร์วาสแตติน ทำาให้ระดับ
            แตกต่างจากการศึกษาในร่างกายสัตว์ทดลองหรือ   ไขมันลดลง นอกจากนี้ ฤทธิ์ต้านออกซิเดซันของ

            มนุษย์ แต่อย่างน้อยผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า   ส้มป่อยอาจมีส่วนช่วยลดการเกิดหลอดเลือดแดงแข็ง
            สารสกัดส้มป่อยอาจลดไขมันได้โดยยับยั้งเอนไซม์   โดยลดการเกิดออกซิเดซันของ LDL ซึ่งเป็นขั้นตอน

            HMG-CoA reductase ซึ่งเป็น rate limiting step   สำาคัญในกระบวนการเกิดผนังหลอดเลือดแข็งหรือ
            ในการกระบวนการสังเคราะห์คอเลสเตอรอลเช่นเดียว  อุดตัน จึงเป็นผลลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอด
            กับยาลดไขมันในเลือดกลุ่ม statin ทำาให้ระดับไขมัน  เลือดแดงแข็ง
   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246