Page 231 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 231

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  461




            เปรี้ยว ใช้รับประทานเป็นผักสด เป็นเครื่องเคียงนำ้า  ดีว่าอนุมูลอิสระทำาให้เกิดการเสียสมดุลในร่างกาย
            พริก หรือนำามาปรุงรสหรือนำามาปรุงเป็นอาหารเพื่อ  และเป็นสาเหตุสำาคัญของการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรค

            เพิ่มรสเปรี้ยว รสของส้มป่อยจะเปรี้ยวกลมกล่อม และ  หลอดเลือดหัวใจ ไขมันในเลือดสูง มะเร็ง เบาหวาน
            ขจัดกลิ่นคาว และยังมีการใช้ส่วนของใบในการแพทย์  โรคข้อ โรคทางระบบประสาท ภาวะชรา เป็นต้น [15-16]
            พื้นบ้าน เช่น การแพทย์ล้านนา ใช้เป็นยาประคบ แทบ  และอนุมูลอิสระมีบทบาทสำาคัญต่อการเกิดโรคหลอด

            ทุกตำารับจะใช้ใบส้มป่อยเดี่ยว ๆ หรือผสมสมุนไพร  เลือดแข็งและโรคหลอดเลือดหัวใจ [17-18]  ดังนั้น การ
            ตัวอื่นใส่ในลูกประคบ เพื่อแก้ปวดเมื่อย [8]  รับประทานใบส้มป่อยไม่เพียงแต่จะได้คุณค่าทาง
                 องค์ประกอบทางเคมีที่พบในใบส้มป่อย ได้แก่   โภชนาการเท่านั้น แต่ยังได้รับวิตามินเอและบีตาแคโรทีน

            แอลคาลอยด์ (alkaloids), เฟลโวนอยด์ (flavonoids),   ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระอาจช่วยลดความเสี่ยงของ
            แซโพนิน (saponin), แทนนิน (tannin) เป็นต้น  [9-10]    การเกิดโรคที่เป็นผลจากอนุมูลอิสระได้ อย่างไรก็ตาม
            การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของใบส้มป่อยพบว่า   ยังไม่มีรายงานฤทธิ์ลดไขมันในเลือดของใบส้มป่อย

                                                   [9]
            สารสกัดด้วยเอทานอล เมทานอล และคลอโรฟอร์ม         การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบ
                                 [10]
            และสารสกัดด้วยอะซีโตน  ของใบส้มป่อยมีฤทธิ์  ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยประเมินการดักจับอนุมูล
            ต้านเชื้อแบคทีเรีย สารสกัดด้วยนำ้าของใบส้มป่อย  ไฮดรอกซิลและซุปเปอร์ออกไซด์ และศึกษาฤทธิ์ลด
            แสดงฤทธิ์ต้านออกซิเดชันโดยยับยั้งการเหนี่ยวนำาการ  ไขมันของสารสกัดจากใบส้มป่อยโดยตรวจสอบฤทธิ์
                                    [11]
            ตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง Rao และคณะ     [12]   ยับยั้งเอนไซม์ HMG-CoA reductase และฤทธิ์ลด
            รายงานว่าสารสกัดด้วยนำ้าจากใบส้มป่อยมีฤทธิ์ต้าน  ไขมันในเลือดในหนูแรทที่เหนี่ยวนำาให้เกิดภาวะไขมัน
            ออกซิเดชันและต้านการเกิดลิ่มเลือด Lumlerdkij   ในเลือดสูงโดยให้อาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง

            และคณะ รายงานว่าสารสกัดด้วยเอทานอลของใบ
                    [13]
            ส้มป่อยปกป้องการตายของเซลล์ตับเพาะเลี้ยงจากพิษ          ระเบียบวิธีศึกษ�
            ของ tert-butyl hydroperoxide โดยเพิ่มเอนไซม์

            NAD(P)H: quinone oxidoreductase 1 (NQO1     1. วัสดุ
            activity) ซึ่งดักจับอนุมูลซุปเปอร์ออกไซด์ และ     1.1. วัตถุดิบสมุนไพร
            ป้องกันการลดลงของกลูตาไธโอน (glutathione) ซึ่ง     เก็บรวบรวมตัวอย่างส้มป่อยจากพื้นที่จังหวัด

            เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ปกป้องเนื้อเยื่อไม่ให้ถูก  จันทบุรีเพื่อนำามาใช้เป็นวัตถุดิบสำาหรับการศึกษา
            ทำาลาย นอกจากนี้ จากข้อมูลระบบอาหารชุมชนพบว่า   และตรวจระบุชนิดตามหลักอนุกรมวิธานพืช  เพื่อ
                                                                                          [4-5]
            ใบส้มป่อยมีวิตามินเอ บีตาแคโรทีน และแคโรทีนรวม  จัดทำาตัวอย่างพรรณไม้แห้งอ้างอิง (voucher speci-

            สูงมากเมื่อเทียบกับผักพื้นบ้านทั้งหลาย [14]   men) เก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์พืช กรมวิทยาศาสตร์
                 เนื่องจากส้มป่อยมีสรรพคุณหลากหลายและ   การแพทย์ (DMSC Herbarium) โดยมีหมายเลข

            ใช้ประโยชน์เป็นยาได้ ที่น่าสนใจ คือ ใบส้มป่อยมี  พรรณไม้ของพิพิธภัณฑ์พืชกรมวิทยาศาสตร์การ
            ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และเป็นผักที่มีวิตามินเอและ  แพทย์ คือ DMSC 5269
            บีตาแคโรทีนสูงมากเป็นอันดับต้น ๆ เป็นที่ทราบกัน
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236