Page 232 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 232

462 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




                1.2. การเตรียมสมุนไพร                      2.2. การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
                นำาส่วนที่ใช้ คือ ใบ มาล้างให้สะอาดด้วยนำ้า ผึ่ง       1) วิเคราะห์ด้วยวิธีดักจับอนุมูลไฮดรอกซิล

           ให้แห้งที่อุณหภูมิห้องพอหมาด และอบให้แห้งที่  (hydroxyl radical scavenging assay) โดย
                                                                                        [20]
           อุณหภูมิ 45-50 องศาเซลเซียส นำาใบส้มป่อยที่แห้งไป  ดัดแปลงจากวิธีของ Halliwell และคณะ  ดังนี้
           บดเป็นผงหยาบและเก็บไว้ในภาชนะปิดสนิท        reaction mixture ประกอบด้วย deoxyribose 1

                1.3. การเตรียมสารสกัด                  มิลลิโมลาร์, FeSO .7H O 10 ไมโครโมลาร์, H O
                                                                         2
                                                                      4
                                                                                            2 2
                นำาผงสมุนไพรแห้งของใบส้มป่อย ตั้งต้นมี  100 ไมโครโมลาร์, ascorbic acid 100 ไมโครโมลาร์,
           ปริมาณ 3.36 กิโลกรัม มาเตรียมเป็นสารสกัดโดยการ  และสารสกัดที่ความเข้มข้น 20-400 ไมโครกรัม/
           ต้มกลั่นในนำ้าเป็นเวลา 1 ชั่วโมง จำานวน 3 ครั้ง กรอง   มิลลิลิตร หรือสารมาตรฐาน trolox 40-400 ไมโคร-
           และนำาไปทำาให้เข้มข้นภายใต้สุญญากาศด้วยเครื่อง   โมลาร์ ผสมสารให้เข้ากัน นำาไปบ่มที่อุณหภูมิ 45
           rotary vacuum evaporator และทำาให้แห้งโดยใช้   องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง หยุดปฏิกิริยาด้วย

           lyophilizer ได้สารสกัดด้วยนำ้าจากใบส้มป่อย โดยมี  butylated hydroxytoluene 100 มิลลิโมลาร์ จาก
           ร้อยละของปริมาณสารที่สกัดได้เท่ากับ 36.8 (ร้อยละ  นั้นทำา thiobarbituric acid reactive substances

           โดยนำ้าหนักต่อนำ้าหนัก)                     (TBARS) assay โดยเติม trichloroacetic acid
                                                       2.8% และ thiobarbituric acid 1% นำาไปบ่มที่
           2. วิธีก�รศึกษ�                             อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง แล้วนำา

                2.1. การควบคุมคุณภาพสารสกัด            ไปวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วย microplate reader ที่
                  1) ควบคุมคุณภาพทางเคมีของสารสกัดใช้  ความยาวคลื่น 532 นาโนเมตร ผลที่ได้นำาไปคำานวณ

           เทคนิคโครมาโตกราฟีชนิดผิวบาง (thin layer chro-  ค่าร้อยละของการยับยั้งการเกิดออกซิเดชัน โดยเทียบ
           matography; TLC) เปรียบเทียบกับสารมาตรฐาน   กับกลุ่มควบคุมที่ไม่มีสารสกัดหรือสารมาตรฐาน
           แทนนิน (tannin), แซโพนิน (saponin) โดยผู้ร่วม  การวิเคราะห์ประสิทธิผลในการต้านอนุมูลอิสระจะ

           ศึกษาด้านพฤกษเคมี ผลการศึกษาเอกลักษณ์ทาง    พิจารณาจากค่าความเข้มข้นของสารสกัดหรือสาร
           เคมีโดยวิธี TLC พบแถบสีของสารสกัดส้มป่อยตรง   มาตรฐานที่สามารถยับยั้งการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน
           กับแถบของสารละลายมาตรฐานแทนนินและแซโพนิน    ได้ร้อยละ 50 (inhibitory concentration 50%, IC )
                                                                                             50
           และพบปริมาณแทนนินและแซโพนินรวมเป็นร้อยละ    และค่า trolox equivalent antioxidant activity
                                   ้
           12.10 และร้อยละ 18.97 โดยนำาหนัก ตามลำาดับ  (TEAC) ซึ่งเป็นค่าที่บอกความแรงของสารสกัดใน
                  2) ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของเชื้อ  การต้านการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นจำานวนเท่า

           จุลินทรีย์ของสารสกัดใช้วิธีตรวจวิเคราะห์ตาม Thai   เมื่อเทียบกับอนุพันธ์วิตามินอี (trolox) ต่อกรัมของ
           Pharmacopoeia Volume I and II supplement    ตัวอย่างสารสกัด

           2005 โดยห้องปฏิบัติการเภสัชวิทยา สถาบันวิจัย       2) วิเคราะห์ด้วยวิธีดักจับอนุมูลซุปเปอร์-
               [19]
           สมุนไพร พบว่าสารสกัดส้มป่อยผ่านข้อกำาหนด    ออกไซด์ (superoxide radical scavenging assay)
           มาตรฐานทุกรายการ                            โดยดัดแปลงจากวิธีของ Nishikimi และคณะ
                                                                                             [21]
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237