Page 234 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 234
464 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
ท่อนเล็ก ขนาดใกล้เคียงกับขนาดของอาหารสัตว์ ที่เวลา 2, 4, 6, 8, 10 และ 12 สัปดาห์ หลังจากกรอก
ทดลอง และอบให้แห้งที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส นำ้าหรือยามาตรฐานหรือสารสกัดสมุนไพร จากนั้น
จากนั้นบรรจุอาหารในถุงพลาสติก และเก็บไว้ใน นำาเลือดไปตรวจวัดระดับไขมันในเลือด ได้แก่
ภาชนะที่มีฝาปิด คอเลสเตอรอล (คอเลสเตอรอลรวม), ไตรกลีเซอร์ไรด์,
การศึกษาฤทธิ์ลดไขมันในสัตว์ทดลองได้รับการ high-density lipoprotein (HDL-C) และ low-
พิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการดูแลการเลี้ยงและ density lipoprotein (LDL-C) รวมทั้งตรวจวัดการ
ใช้สัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ทำางานของตับ ได้แก่ เอนไซม์ aspartate amino-
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตามหมายเลขอนุมัติการ transferase (AST), alanine aminotransferase
วิจัย 61-017 ในการทดลองแบ่งเป็นกลุ่มหนูปกติที่ได้ (ALT) และ alkaline phosphatase (ALP) และการ
รับอาหารสัตว์ทดลองและดื่มนำ้าแบบ ad libitum (เท่า ทำางานของไต ได้แก่ blood urea nitrogen (BUN)
ที่ต้องการ) และกลุ่มหนูไขมันสูงที่ได้รับอาหารสัตว์ และ creatinine โดยใช้เครื่องตรวจวิเคราะห์ค่า
ทดลองที่มีไขมันสูงและดื่มนำ้าเท่าที่ต้องการ และเริ่ม ชีวเคมีในเลือดอัตโนมัติ (Cobas Integra รุ่น 400
®
การทดลองโดยเจาะเลือดหนูที่อดอาหารแล้วประมาณ plus)
12-15 ชั่วโมง จากหลอดเลือดดำาที่หางหนู (lateral tail 2.5. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
vein) ไว้เป็นค่าเริ่มต้น (ที่ 0 สัปดาห์) แบ่งหนูโดยการ ข้อมูลทุกค่าแสดงในรูปของค่าเฉลี่ย ± ค่า
สุ่มออกเป็น 7 กลุ่ม ๆ ละ 9 ตัว ดังนี้ กลุ่มที่ 1 เป็นหนู ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน การเปรียบเทียบความ
ปกติที่ได้รับอาหารและดื่มนำ้าเท่าที่ต้องการ และ แตกต่างระหว่าง 2 กลุ่มการทดลองที่เป็นอิสระต่อ
กรอกนำ้า 10 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/วัน (มล./กก./วัน) กันใช้ independent t-test การเปรียบเทียบความ
กลุ่มที่ 2-7 เป็นหนูที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงและดื่ม แตกต่างของค่าเฉลี่ยมากกว่า 2 กลุ่มใช้ analysis of
นำ้าตามเท่าที่ต้องการ โดยกลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มควบคุม variance (ANOVA) และเปรียบเทียบข้อมูลที่แตก
และกรอกนำ้า 10 มล./กก./วัน กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่ม ต่างกันกรณีความแปรปรวนของทั้ง 2 กลุ่มไม่แตก
ควบคุมบวก และกรอกอะทอร์วาสแตติน (atorvas- ต่างกันใช้ Scheffe multiple comparisons และ
tatin) 20 มก./กก./วัน และกลุ่มที่ 4-7 เป็นกลุ่ม กรณีความแปรปรวนของทั้ง 2 กลุ่มแตกต่างกันใช้
ทดลอง และกรอกสารสกัดด้วยนำ้าจากใบส้มป่อย (สาร Tamhane’s T2 multiple comparisons โดยค่า p
สกัดส้มป่อย) ขนาดต่าง ๆ ได้แก่ 100, 200, 400 และ ที่น้อยกว่า 0.05 หรือที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ถือว่า
800 มก./กก./วัน ตามลำาดับ พร้อมกับให้อาหารที่มี มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
ไขมันสูงโดยให้ต่อเนื่องกันทุกวัน เป็นเวลา 3 เดือน
ระหว่างการทดลองสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่ ผลก�รศึกษ�
แสดงออกภายนอกของหนูทุกวัน บันทึกปริมาณ
อาหารที่กินและนำ้าหนักตัวสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และเจาะ 1. ผลก�รทดสอบฤทธิ์ต้�นอนุมูลอิสระ
เลือดหนูในแต่ละกลุ่มจากหลอดเลือดดำาที่หางหนูหลัง สารสกัดส้มป่อยมีฤทธิ์ต้านอนุมูลไฮดรอกซิล
อดอาหารแล้วประมาณ 12-15 ชั่วโมง ทุก 2 สัปดาห์ ตามความเข้มข้นที่ใช้ทดสอบ โดยมีค่า IC เท่ากับ
50