Page 224 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 224
454 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
grophytes มีเพียง laboratory reference strain ที่ กลุ่มทดสอบที่ได้รับเจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่มี
สามารถทำาให้สัตว์ทดลองติดเชื้อ 100% แต่เชื้อที่เป็น ความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% เปรียบเทียบ
clinical isolate สามารถทำาให้เกิดการติดเชื้อในสัตว์ กับกลุ่มทดสอบที่ได้รับยาต้านเชื้อรา ketoconazole
[37]
ทดลองได้บางตัวเท่านั้น cream พบว่าสัตว์ทดลองในกลุ่มทดสอบที่ได้รับ
การเหนี่ยวนำาให้เกิดการติดเชื้อ M. canis ใน เจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสาร
สัตว์ทดลอง พบว่าการติดเชื้อเริ่มต้นมีสัดส่วนต่างกัน ไรนาแคนทิน ซี 0.1% มีค่าเฉลี่ยคะแนนรอยโรค
ในแต่ละกลุ่ม โดยกลุ่มทดสอบที่ได้รับเจลสารสกัด บริเวณผิวหนังมากกว่ากลุ่มทดสอบที่ได้รับยาต้านเชื้อ
รากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน รา ketoconazole cream โดยมีความแตกต่างกัน
ซี 0.1% มีการติดเชื้อเริ่มต้นสูงสุด ในขณะที่กลุ่ม อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ซึ่งผลที่ได้สอดคล้องกับผล
ที่ได้รับเชื้อราแต่ไม่ได้รับสารทดสอบมีการติดเชื้อ การประเมินประสิทธิผลของสารทดสอบที่พบว่ายา
่
เริ่มต้นตำาสุด หลังจากทำาการทาสารทดสอบต่อเนื่อง ต้านเชื้อรา ketoconazole cream สามารถลดการติด
วันละครั้งเป็นระยะเวลา 14 วัน และตรวจสอบการ เชื้อราได้ดีกว่าเจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่มีความเข้ม
ติดเชื้อ พบว่าสัตว์ทดลองทุกกลุ่มมีการติดเชื้อลด ข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% จากผลการทดสอบ
ลง รวมถึงกลุ่มทดสอบที่ได้รับเชื้อราแต่ไม่ได้รับสาร ในระดับสัตว์ทดลองนี้ จะเห็นได้ว่าตำารับที่มีความเข้ม
ทดสอบด้วย (ตารางที่ 6) การติดเชื้อที่ลดลงโดยไม่ได้ ข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% สามารถต้านการติด
รับสารต้านเชื้อรานี้เกิดจากกลไกในการรักษาตนเอง เชื้อราได้ แต่ยังไม่ดีเท่า ketoconazole cream เมื่อ
(spontaneous healing) ซึ่งเป็นผลของภูมิคุ้มกัน ใช้ยาแต่ละชนิดวันละครั้งเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์
ชนิดพึ่งเซลล์ (cell-mediated immunity) ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ketoconazole cream มีวิธีใช้คือ
[39]
ในโมเดลสัตว์ทดลองที่เป็นหนูตะเภา และแตกต่าง ทาบริเวณที่มีอาการวันละครั้งเป็นเวลา 2-4 สัปดาห์
จากโรคกลากในคนซึ่งไม่สามารถหายได้เอง แม้ว่า ในขณะที่การใช้สมุนไพรทองพันชั่งสำาหรับรักษาโรค
มีการนำาหนูตะเภามาใช้เพื่อศึกษาการติดเชื้อรากลุ่ม ผิวหนัง กลากเกลื้อน จะให้ทาบริเวณที่มีอาการวันละ
เดอร์มาโตไฟต์และประเมินผลการรักษาอย่างแพร่ 2-3 ครั้ง จนกว่าจะหาย [11-12] หรือยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง
หลาย แต่ความสามารถในการรักษาตนเองที่เกิดขึ้น จะให้ใช้ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ทา
[16]
นี้นับเป็นข้อจำากัดของโมเดลสัตว์ทดลองดังกล่าว [38] จนกว่าจะหาย และใช้ต่อเนื่องอีกอย่างน้อย 2 สัปดาห์
การทดสอบประสิทธิผลในการต้านเชื้อราของ ซึ่งขนาดยาของเจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่ใช้ในการ
ketoconazole cream พบว่าสามารถลดการติดเชื้อ ทดสอบในสัตว์ทดลองครั้งนี้อาจมีขนาดไม่เพียงพอ
ราได้ 84.96% ในขณะที่ตำารับเจลสารสกัดรากทองพัน ส่งผลให้ได้ผลการรักษาตำ่ากว่า ketoconazole cream
ชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี 0.1% มี ดังนั้นขนาดและวิธีใช้ที่เหมาะสมสำาหรับเจลสารสกัด
ประสิทธิผลในการลดการติดเชื้อราลงได้ 59.55% และ รากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสารไรนาแคนทิน ซี
เจลสารสกัดรากทองพันชั่งที่มีความเข้มข้นของสาร 0.1% จึงควรเป็นทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง
ไรนาแคนทิน ซี 0.05% ไม่มีประสิทธิผลในการลดการ เช้า-เย็น เช่นเดียวกับขนาดและวิธีใช้ของทิงเจอร์
ติดเชื้อรา นอกจากนี้ ผลการประเมินผลรอยโรคของ ทองพันชั่ง อย่างไรก็ตาม ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อ