Page 212 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 212

442 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           tube แล้วปล่อยให้อุณหภูมิลดลงเหลือประมาณ 45   สารสกัดรากทองพันชั่งที่ปริมาตรต่าง ๆ กับจานเพาะ
           องศาเซลเซียส เติมเชื้อเดอร์มาโตไฟต์ที่เตรียมสำาหรับ  เลี้ยงที่ไม่ใส่สารทดสอบ (non-treated)

           ทดสอบปริมาตร 300 ไมโครลิตรลงในอาหารเหลวอุ่น      2.6 การทดสอบประสิทธิผลในการต้านเชื้อรา
           จากนั้นผสมให้เข้ากัน แล้วเทอาหารเหลวที่ผสมกับ  ของเจลสารสกัดรากทองพันชั่งในสัตว์ทดลอง
           เชื้อปริมาตร 5 มิลลิลิตร ลงบน bottom agar เอียง       2.6.1 เชื้อจุลชีพ

           จานเพาะเลี้ยงไปมาทุกด้านเพื่อให้ soft agar คลุมทั่ว       เชื้อราสำาหรับการทดสอบใช้ M. canis 13-
           บริเวณหน้า bottom agar (คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 57   60-04317 ที่เจือจางเชื้อใน 0.85% sodium chloride
                                                                                    7
           ตารางเซนติเมตร) และทิ้งไว้ให้อาหารแข็งตัวประมาณ   เพื่อให้มีความเข้มข้นของเชื้อ 1 x 10 conidia ต่อ
           15-20 นาที ทำาการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อราโดยใช้  มิลลิลิตร
           เจลสารสกัดรากทองพันชั่งหรือเจลพื้นปริมาตร 200        2.6.2 การทดสอบ
           ไมโครลิตร นำามา spread ลงบนจานเพาะเลี้ยงโดย       การศึกษาประสิทธิผลของเจลสารสกัดราก

           ใช้ glass spreader บนผิวหน้าของอาหารแข็งแห้ง   ทองพันชั่งต่อการต้านเชื้อราในสัตว์ทดลองใช้วิธีการที่
           จากนั้นนำาจานเพาะเชื้อไปเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 35   ดัดแปลงจาก Ghannoum MA. และคณะ [20-21]  และ

           องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 3-5 วัน และประเมิน  ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการดูแลการเลี้ยงและใช้
           ผลการทดสอบเปรียบเทียบกับจานเพาะเลี้ยงที่ไม่ใส่  สัตว์ทดลองของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ให้ดำาเนิน
           สารทดสอบ (non-treated)                      การวิจัยในสัตว์ (หมายเลขควบคุมโครงการ 61-001)

                  3) การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อราโดยใช้เทคนิค   เลือกใช้หนูตะเภาสายพันธุ์ Hartley เพศผู้นำ้าหนัก
           over-agar antibiotic plating                ประมาณ 150-170 กรัม ตรวจประเมินสุขภาพแล้วสุ่ม

                    การทดสอบใช้เจลสารสกัดรากทองพันชั่ง  หนูตะเภาใส่ในกรงเลี้ยงขนาดมาตรฐาน และเลี้ยงเพื่อ
           ที่ปริมาตร 50, 100, 200, และ 400 ไมโครลิตร หรือเจล  ปรับสภาพเป็นเวลา 5 วันก่อนการทดสอบ การดูแล
           พื้นปริมาตร 400 ไมโครลิตร นำามา spread ลงบนจาน  สัตว์ทดลองเป็นไปตามมาตรการเลี้ยงสัตว์สากล และ

           เพาะเลี้ยงที่มีอาหารแข็งชนิด Sabouraud dextrose   ให้สัตว์กินอาหารและนำ้าอย่างไม่จำากัดปริมาณ การ
           agar ใน plastic petri dishes (90 mm DIA) โดย  ทดสอบแบ่งหนูตะเภาออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ตัว
           ใช้ glass spreader จนผิวหน้าของอาหารแข็งแห้ง   ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1: ไม่ได้รับเชื้อ M. canis และ

           จากนั้นหยดเชื้อจุลชีพสำาหรับทดสอบที่เตรียมจากเชื้อ  ไม่ได้รับสารทดสอบ (negative control), กลุ่มที่ 2:
           ราแต่ละชนิดปริมาตร 20 ไมโครลิตร (ความหนาแน่น  ได้รับเชื้อ M. canis และได้รับยาต้านเชื้อรา Nizoral
                                                                                             ®
           ของเชื้อประมาณ 2-10 x 10 เซลล์) ลงบนจานอาหาร  cream (2% ketoconazole), กลุ่มที่ 3: ได้รับเชื้อ
                                4
           เพาะเลี้ยงที่เตรียมไว้ รอจนกระทั่งเชื้อจุลชีพสำาหรับ  M. canis และได้รับเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง (0.1%
           ทดสอบบนผิวอาหารแข็งแห้ง แล้วนำาจานเพาะเชื้อไป  ไรนาแคนทิน ซี), กลุ่มที่ 4: ได้รับเชื้อ M. canis และ

           เพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา   ได้รับเจลสารสกัดรากทองพันชั่ง (0.05 % ไรนาแคน-
           3 วัน และประเมินผลการทดสอบโดยเปรียบเทียบการ  ทิน ซี) และกลุ่มที่ 5: ได้รับเชื้อ M. canis และไม่ได้
           เจริญของเชื้อราในจานเพาะเลี้ยงที่มีเจลพื้น หรือมีเจล  รับสารทดสอบ (non-treated) หลังจากเลี้ยงปรับ
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217