Page 109 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 109
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 2 May-Aug 2021 339
* มีความแตกต่างจากก่อนการรักษาอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05)
ภาพที่ 2 คะแนนอรรถประโยชน์และคะแนนสภาวะสุขภาพทางตรงจากการประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ (EQ-
5D-5L) ในการติดตามแต่ละครั้งเปรียบเทียบกับก่อนการรักษา
ด้านอื่น ๆ ได้แก่ ลดอาการปวดเมื่อย ร้อยละ 24 เพิ่ม 2 อาการ คือ อาการคอแห้งและมึนงงศีรษะ ผลต่อการ
ความอยากอาหาร ร้อยละ 20 ลดอาการเหนื่อยง่าย เปลี่ยนแปลงความดันโลหิต พบว่าค่าความดันโลหิต
ทำาให้รู้สึกมีกำาลังมากขึ้น ร้อยละ 16 และลดอาการชา ค่าบนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย แต่ไม่มีนัยสำาคัญทางสถิติ (p
ปลายมือ-เท้า ร้อยละ 4 ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงในการ > 0.05) และค่าความดันโลหิตค่าล่างไม่เปลี่ยนแปลง
ติดตามอาการครั้งที่ 1 และ 2 เป็นต้นไป อย่างมีนัยสำาคัญ
4.2 ความปลอดภัยของยาต่อตับและไต
4. ข้อมูลคว�มปลอดภัย ด้านความปลอดภัยของยาศุขไสยาศน์ต่อตับ
4.1 อาการไม่พึงประสงค์ และไต พบว่า ค่าเอนไซม์ตับก่อนการใช้ยา ได้แก่ ค่า
เกิดอาการไม่พึงประสงค์หลังการใช้ยา AST อยู่ในเกณฑ์ปกติ 20 ราย, ผิดปกติ 1 ราย (ค่า
ศุขไสยาศน์ในผู้ป่วยร้อยละ 64 อาการไม่พึงประสงค์ AST เท่ากับ 108 mg/dL) และค่า ALT ปกติ 18
ที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ระคายเคืองทางเดินอาหาร ราย, ผิดปกติ 4 ราย ค่าการทำางานของไตก่อนการใช้
(ร้อนปาก คอและท้อง) ร้อยละ 44 อาการคอแห้ง ยา ได้แก่ ค่า SCr อยู่ในเกณฑ์ปกติ 21 ราย ผิดปกติ
ร้อยละ 16 อาการร้อนร่างกาย มีเหงื่อออกร้อยละ 4 3 ราย (ค่า SCr เท่ากับ 1.39, 1.26 และ 0.98 mg/dL
อาการหัวใจเต้นเร็วร้อยละ 4 และอาการมึนงงศีรษะ ตามลำาดับ) และค่า eGFR อยู่ในช่วง 90-120 mL/
ร้อยละ 4 โดยมีผู้ป่วย 1 ราย พบอาการไม่พึงประสงค์ min/1.73 m2 8 ราย, ช่วง 60-89 mL/min/1.73 m
2