Page 107 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 107

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  337




            คือ ระคายเคืองทางเดินอาหารที่ไม่สามารถทนได้ 4   เทียบกับก่อนการรักษา พบว่า คะแนนในแต่ละ
            ราย ทั้งนี้พบว่า มีผลข้างเคียงหลังจากการใช้ยาเดือน  องค์ประกอบลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติใน

            ที่ 3 ไปแล้ว ได้แก่ ร้อนร่างกาย และร้อนคอ ในผู้ป่วย   การติดตามอาการครั้งที่ 1 ยกเว้นองค์ประกอบที่ 4
            2 ราย นอกจากนั้น มีผู้ป่วยที่ยุติการรักษาเนื่องจาก  ประสิทธิภาพของการนอนหลับโดยปกติวิสัย (ตาราง
            รู้สึกไม่ดีขึ้น 1 ราย, ไม่สะดวกเดินทาง 8 ราย, ย้าย  ที่ 3) ด้านการลดการใช้ยานอนหลับ พบว่าผู้ป่วย

            ไปรับยาใกล้บ้าน 1 ราย, ผู้ป่วยรู้สึกหลับได้ดีขึ้นและ  ร้อยละ 52 สามารถลดการใช้ยานอนหลับได้ และ
            ขอยุติการรักษา 2 ราย, แพทย์แผนไทยยุติการรักษา  ผู้ป่วยร้อยละ 32 สามารถหยุดการใช้ยานอนหลับได้
            เนื่องจากคุณภาพการนอนหลับดีขึ้น คือมีค่า PSQI   ในการติดตามอาการครั้งที่ 1

            ลดลงน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 จำานวน 5 ราย (ภาพที่ 1)
                                                        3. ข้อมูลคุณภ�พชีวิตด้�นสุขภ�พและผลก�ร

            2. คุณภ�พก�รนอนหลับ                         เปลี่ยนแปลงอ�ก�รด้�นอื่น

                 ผลรวมคะแนนคุณภาพการนอนหลับเฉลี่ย            ข้อมูลคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ (EQ-5D-5L)
            (average global PSQI score) ก่อนการรักษา เท่ากับ   ก่อนการรักษามีคะแนนด้านอรรถประโยชน์และ

            14.76 ± 3.07 และมีคะแนนลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทาง  คะแนนด้านสภาวะสุขภาพทางตรง เท่ากับ 0.85 ±
            สถิติ (p < 0.05) ในการติดตามอาการ ครั้งที่ 1 ถึง 5   0.19 และ 69.77 ± 11.38 ตามลำาดับ พบว่าหลังใช้
            เท่ากับ 10.56 ± 3.69, 7.70 ± 3.54, 9.30 ± 3.56, 8.71   ยาศุขไสยาศน์ คะแนนทั้งสองด้านเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบ

            ± 4.38 และ 7.20 ± 3.89 ตามลำาดับ (ตารางที่ 2)  เทียบกับก่อนการรักษาอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p
                 ผลการเปรียบเทียบคะแนนองค์ประกอบของ     < 0.05) ในการติดตามครั้งที่ 1, 2 และ 3 (ภาพที่ 2)

            คุณภาพการนอนหลับทั้ง 7 องค์ประกอบเมื่อเปรียบ     นอกจากนี้ยังพบว่า มีผลเปลี่ยนแปลงอาการ



            ตารางที่ 2  ค่าเฉลี่ยผลรวมคะแนนคุณภาพการนอนหลับ (average global PSQI score) ก่อนการรักษาและในการ
                      ติดตามแต่ละครั้ง
                                      จำานวน (ราย)    Average global PSQI score    p-value
                                                            Mean ± SD

              ก่อนรักษา                   25              14.76 ± 3.07               -
              ติดตามอาการ ครั้งที่ 1      25              10.56 ± 3.69             0.00*
              ติดตามอาการ ครั้งที่ 2      17               7.70 ± 3.54             0.00*
              ติดตามอาการ ครั้งที่ 3      13               9.30 ± 3.56             0.00*
              ติดตามอาการ ครั้งที่ 4      7                8.71 ± 4.38             0.02*
              ติดตามอาการ ครั้งที่ 5      5                7.20 ± 3.89             0.04*
              ติดตามอาการ ครั้งที่ 6      3                8.00 ± 5.29              0.10

              Mean ± SD คือ ค่าเฉลี่ย (mean) ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)
              * มีความแตกต่างจากก่อนการรักษาอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05)
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112