Page 110 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 110

340 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ตารางที่ 4  ข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์ที่พบจากการใช้  ความสอดคล้องกับทฤษฎีทางการแพทย์แผนไทย ที่
                    ยาศุขไสยาศน์                       ระบุว่าโรคนอนไม่หลับมีสมุฏฐานวาตะเป็นที่ตั้งแห่ง

           อาการไม่พึงประสงค์    จำานวน (ราย)  ร้อยละ  การเกิดโรค คือลมกำาเริบ และผู้ที่มีช่วงอายุตั้งแต่
                                    n = 25
                                                       30 ปี ขึ้นไปจะมีวาตะเป็นสมุฏฐาน ช่วงวัยนี้จึงมีการ
           อาการไม่พึงประสงค์                          กำาเริบของลมหรือเจ็บป่วยด้วยโรคทางวาตะได้ง่าย [17]
             - ไม่มี                  8       32       ด้านโรคประจำาตัว พบว่า ร้อยละ 84 ของผู้ป่วยมีโรค
             - มี                    17       68
           ลักษณะอาการไม่พึงประสงค์ที่พบ               ประจำาตัว โดยที่ร้อยละ 44 มีโรคประจำาตัวมากกว่า 1
             - ร้อนปาก คอและท้อง     11       44       โรคขึ้นไป ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาก่อนหน้าที่พบ
             - คอแห้ง                 4       16       ว่า ปัจจัยด้านการเจ็บป่วยทางกายมีผลต่อการนอน
             - ร้อนร่างกาย เหงื่อออก   1       4       ไม่หลับ [14-16]  และมีการศึกษาว่าผู้ที่มีโรคประจำาตัว 2
             - หัวใจเต้นเร็ว          1        4       โรคขึ้นไป หรือมีโรคประจำาตัว ได้แก่ โรคพาร์กินสัน
             - มึนงงศีรษะ             1        4
                                                       โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจขาดเลือด
                                                       โรคกระเพาะอาหาร โรคเบาหวาน เป็นปัจจัยกระตุ้น

           14 ราย, และช่วง 45-59 mL/min/1.73 m  2 ราย    ที่ทำาให้เกิดอาการนอนไม่หลับได้ โดยมีผลทำาให้ตื่น
                                           2
                หลังการใช้ยาศุขไสยาศน์ ผู้ป่วยมีค่าการทำางาน  กลางดึกบ่อยและระยะเวลาการนอนหลับลดลง และ
           ของตับ AST และ ALT อยู่ในเกณฑ์ผิดปกติ หลังการ  ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มักมีปัญหาตื่นเช้ากว่า

           ใช้ยา 1 เดือน 2 ราย ทั้งนี้พบว่าผู้ป่วยมีโรคประจำาตัว  ปกติ ส่วนผู้ป่วยโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดมักมี
           เป็นธาลัสซีเมีย มีค่าการทำางานของตับผิดปกติตั้งแต่  ปัญหานอนหลับยาก [16,18]
           ก่อนใช้ยา (ค่า AST เท่ากับ 167 mg/dL) 1 ราย และ     ประสิทธิผลต่อการนอนหลับพบว่า ผลรวม

           พบผู้ป่วยมีค่าการทำางานของตับสูงขึ้นเพียงเล็กน้อย   คะแนนคุณภาพการนอนหลับ (global PSQI score)
           (ค่า AST เท่ากับ 47 และ ALT เท่ากับ 50 mg/dL) 1   เปรียบเทียบก่อนการรักษาและหลังการติดตามแต่ละ
           ราย, ค่าการทำางานของไต ผู้ป่วยมีค่า SCr อยู่ในเกณฑ์  ครั้งมีคะแนนลดลงกว่าก่อนการรักษาอย่างมีนัย

           ผิดปกติหลังจากใช้ยา 1 เดือน 2 ราย และพบค่า SCr   สำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) ในการติดตามอาการครั้งที่
           ผิดปกติหลังการใช้ยา 6 เดือน 1 ราย โดยทั้ง 3 ราย มี  1-5 โดยพบว่า มีคะแนนลดลงตั้งแต่การติดตามอาการ

           การเปลี่ยนแปลงของค่า SCr สูงขึ้นเพียงเล็กน้อย โดย  ครั้งแรก หรือหลังการรับประทานยาศุขไสยาศน์รูป
           ไม่พบความผิดปกติของ eGFR ยกเว้นผู้ป่วย 1 ราย   แบบผง ขนาด 500 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
           มีค่า eGFR ลดลงหลังการใช้ยา 1 เดือน (ลดลงจาก   เป็นเวลาเฉลี่ย 4.12 ± 2.33 สัปดาห์ และเมื่อสิ้นสุด

           60.1 mL/min/1.73 m  เหลือ 52.48 mL/min/1.73 m )   การรักษามีผู้ป่วยร้อยละ 24 ที่มีคะแนนลดลงน้อย
                                                  2
                           2
                                                       กว่า 5 คะแนน คือไม่มีปัญหาการนอนหลับ ส่วนด้าน
                         อภิปร�ยผล                     การใช้ยานอนหลับ พบว่ามีผู้ป่วยที่สามารถลดการใช้

                ผลการศึกษานี้ พบว่าอายุเฉลี่ยของผู้ป่วยที่มี  ยานอนหลับได้ร้อยละ 12 และผู้ป่วยที่สามารถหยุด
           ปัญหานอนไม่หลับ เท่ากับ 56.16 ± 13.08 ปี ซึ่งมี  การใช้ยานอนหลับได้ร้อยละ 40 จึงมีความเป็นไปได้ที่
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115