Page 187 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 187

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr  2021  169




            มัดกล้ามเนื้อ การนวดมีผลทำาให้กล้ามเนื้อคลายตัว   เส้นเอ็น และข้อ เป็นต้น การเว้นระยะการนวดนาน
            กระตุ้นระบบการไหลเวียน ส่งผลให้อาการของผู้มา  เกินไป ผลดีที่ผู้ป่วยควรจะได้รับก็จะไม่ติดต่อกัน

                                                                            [10]
            รับบริการอาการทุเลาลง เหมือนกับการนวดไทย และ  ทำาให้เสียผลการรักษาได้  โดยเมื่อพิจารณาด้าน
                          [8]
            การนวดราชสำานัก  ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของศิวรี   กระบวนการของการรักษาแล้วไม่มีความแตกต่าง
                          [9]
            เอี่ยมฉวี และคณะ  ซึ่งทำาการศึกษาวิจัยเรื่องผลระยะ  กับการนวดแบบราชสำานักเพียงแต่มีการประยุกต์
            สั้นของการนวดไทยแบบราชสำานัก ในผู้ที่มีอาการ  นำาสูตรมาเรียบเรียงใหม่เพื่อให้เกิดความเหมาะสม
            ปวดหลังส่วนล่างแบบเรื้อรัง (โรคลมปลายปัตคาต   กับโรคออฟฟิศซินโดรมเท่านั้น ซึ่งสอดคล้องกับงาน
                                                                                              [11]
            สัญญาณ 1 และ 3 หลัง) พบว่า การนวดไทยแบบ     วิจัยของพีรดา จันทร์วิบูลย์ และศุภะลักษณ์ ฟักคำา
            ราชสำานักสามารถบรรเทาอาการปวดหลังจากโรคลม   ซึ่งทำาการศึกษาวิจัยเรื่องประสิทธิผลของการนวด
            ปลายปัตคาดสัญญาณ 1 และ 3 หลัง อีกทั้ง เนื่องจาก  แบบราชสำานักในการรักษากลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ
            กล้ามเนื้อ มีการคลายตัวจากการนวดไทยจึงช่วยเพิ่ม  หลังส่วนบนของผู้มารับบริการในศูนย์วิชาชีพแพทย์

            ความอ่อนตัวของหลังได้ดังนั้น จึงเป็นการรักษาเสริม  แผนไทยประยุกต์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
            อีกหนึ่งทางเลือกให้กับผู้ป่วยที่มีอาการของโรคลม  พบว่า วิธีการประเมินการรักษาจากซักถามผู้ป่วยว่า

            ปลายปัตคาดสัญญาณ 1 และ 3 หลัง               ขณะนี้ปวดไหมผู้ป่วยอาจตอบว่าไม่ปวดหรือปวดถ้า
                 ผลการวิเคราะห์จากการศึกษาองค์ความรู้ด้าน  ปวดก็จะถามต่อว่าปวดมากและการบอกความรู้สึก
            การนวดในการรักษาโรคออฟฟิศซินโดรมของอาจารย์  เป็นตัวเลข

            มนัส รัตชะถาวรพบว่า วิธีการประเมินผลการรักษา      ผลการวิเคราะห์จากการศึกษาองค์ความรู้ด้าน
            ของอาจารย์มนัส รัตชะถาวร ใช้วิธีการซักถามอาการ  การนวดในการรักษาโรคออฟฟิศซินโดรมของอาจารย์

            ของผู้มารับบริการโดยตรง ว่า “หลังจากนวดแล้วเป็น  มนัส รัตชะถาวร พบว่า ผลของการนวดในการรักษา ผู้
            อย่างไงบ้าง’’ จากนั้นให้ผู้รับบริการลองเคลื่อนไหว  ที่มารับบริการจากอาจารย์มนัส รัตชะถาวร เมื่อทำาการ
            ร่างกายดูความผิดปกติของร่างกาย สัดส่วนที่มันผิด  รักษาแล้วสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ดีขึ้นอาการดี

            ธรรมชาติ ผิดองศา มันคือองศาปกติหรือไม่ ซึ่งอธิบาย  ขึ้น อาการปวดลดลงและจะกลับเข้ามารับการรักษา
            ได้ว่า วิธีการประเมินผลการรักษา ของอาจารย์มนัส    อีกซึ่งอธิบายได้ว่า การนวดช่วยให้กล้ามเนื้อคลาย
            รัตชะถาวร มีลักษะคล้ายกับหลักการหัตถเวชกรรม  ตัว ลดอาการบวม ลดแรงตึงของกล้ามเนื้อ และช่วย

            ไทยที่มีการตรวจหลังการรักษาเพื่อประเมินอาการ  ป้องกันการเจ็บกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ยังช่วยให้หาย
                                                   [7]
            ของผู้รับบริการ เพื่อประเมินอาการหลังการรักษา    จากการบาดเจ็บได้เร็วขึ้น  ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย
                                                                           [12]
                                                                        [13]
            และการนัดการรักษาในรายที่อาการดีขึ้นแต่ยังไม่หาย   ของอภิรดี ธรรมสรณ์  ซึ่งทำาการศึกษาวิจัยเรื่องการ
            การติดตามอาจารย์มนัส รัตชะถาวร ได้ทำาการนัดผู้มา   ศึกษาผลของการนวดแผนไทย ต่อคุณภาพชีวิตด้าน
            บริการหลังจากรักษา 2 วัน เพื่อติดตามผลการรักษา   สุขภาพของกลุ่มคนวัยทำางาน พบว่า คุณภาพชีวิตทั้ง

            ซึ่งอธิบายได้ว่า หลักการนวดไทยที่ว่าการนวดควรเว้น   ด้านสุขภาพกาย และสุขภาพจิตดีขึ้น แสดงให้เห็นว่า
                          ้
            2-3 วัน การนวดซำาทุกวันเป็นระยะเวลานานอาจเป็น  การนวดไทยมีผลต่อคุณภาพชีวิตทั้งด้านสุขภาพกาย
            ผลร้าย เช่น เกิดการระบม การอักเสบของกล้ามเนื้อ   และสุขภาพจิตในเชิงบวก คือช่วยให้คุณภาพชีวิตของ
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192