Page 179 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 179
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 611
รุนแรง โดยผลการศึกษาพบว่ากลุ่มที่ได้รับขมิ้นชัน อาการอักเสบและอาการแพ้จึงถือเป็นทางเลือกที่น่า
แคปซูลมีความรุนแรงของอาการคันและมีระดับของ สนใจสำาหรับการบรรเทาอาการหรือรักษา ในทางการ
hs-CRP ลดลงมากกว่ากลุ่มที่ได้รับยาหลอกอย่างมี แพทย์แผนไทยมีการระบุสรรพคุณของสมุนไพรหลาก
นัยสำาคัญ (p = 0.001 และ p = 0.012 ตามลำาดับ) [39] หลายชนิดเพื่อใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐาน โดยพบว่า
อีกทั้งยังไม่พบผลข้างเคียงใด ๆ จากการรับประทาน สมุนไพรไทยพื้นบ้าน 5 ชนิด ได้แก่ เสลดพังพอนตัวผู้
[40]
ขมิ้นชันอีกด้วย นอกจากนี้มีงานวิจัยโดยศึกษา เสลดพังพอนตัวเมีย ผักบุ้งทะเล ตำาลึง และขมิ้นชัน
ผลของสาร curcumin ในผู้ป่วยที่มีอาการอักเสบ ที่มีสรรพคุณช่วยรักษาอาการแพ้ จากแมลงสัตว์กัด
และคันเรื้อรังจากการสัมผัสก๊าซมัสตาร์ด (sulphur ต่อย โดยรวบรวมวิธีการใช้ ส่วนที่ใช้ สัดส่วนการ
mustard gas) ให้ผลสอดคล้องกันคือสามารถ เตรียมอย่างง่าย ใช้ได้ทันที โดยการใช้ที่ถูกต้องเหมาะ
บรรเทาอาการคันของผู้ป่วยและลดการอักเสบของ สมจะส่งผลต่อการรักษาอย่างมีประสิทธิผล อีกทั้ง
ผิวหนังโดยไปยับยั้งการสังเคราะห์ interleukin-8 ยังมีงานวิจัยรองรับเกี่ยวกับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่
(IL-8) และ hs-CRP [41] เกี่ยวกับการบรรเทาอาการอักเสบ แพ้ ผื่นคันอีก
ด้วย โดยเสลดพังพอนตัวผู้ มีฤทธิ์ลดอาการปวด
อภิปร�ยผล และบวมของอุ้งเท้าหนูทดลอง ซึ่งยับยั้งการปลด
[8]
การอักเสบ การแพ้ หรือผื่นคันเป็นการตอบ ปล่อย prostaglandin E2 และมีสารบางกลุ่ม
สนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมที่จะเข้ามาทำา ที่ช่วยกระตุ้นการสร้างโปรตีน Nrf2 ทำาให้เสลด
[9]
อันตรายต่อร่างกาย แต่การตอบสนองดังกล่าวหาก พังพอนตัวผู้สามารถลดการอักเสบและอาการปวด
เกิดมากเกินไปหรือมีความรุนแรงเกินไปก็จะส่งผล ได้ นอกจากการลดอาการอักเสบผ่านทางกลไก
เสียต่อสุขภาพไม่ว่าจะเป็นอาการเจ็บปวด แสบร้อน ต่าง ๆ แล้ว สารสกัดเสลดพังพอนตัวผู้ยังกระตุ้น
ผื่นคันหรืออาการอื่น ๆ โดยอาการดังกล่าวเกิดจาก การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันทั้งแบบคุ้มกัน
สารเคมีหรือโปรตีนในระบบภูมิคุ้มกันบางตัวถูก โดยกำาเนิด (innate immunity) ที่ช่วยกระตุ้นการ
ผลิตออกมามากจนเกินไป เช่น prostaglandin E2, สร้างอิมมูโนโกลบูลิน ชนิด IgG และ IgM ซึ่งจะช่วย
TNF-α, IL-1β หรือสารอื่น ๆ การหยุดอาการแพ้หรือ กระตุ้นการทำางานของเม็ดเลือดขาวชนิด B cells ทำาให้
อาการอักเสบที่เกิดจากแมลงสัตว์กัดต่อย หรือจาก ผลิตสารมาทำาลายสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายและ
สารที่กระตุ้นให้เกิดการแพ้นั้นสามารถทำาได้โดยการ ยังช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันแบบจำาเพาะเจาะจง (adap-
ใช้สารบางชนิดไปยับยั้งปฏิกิริยาของระบบภูมิคุ้มกัน tive immunity) โดยกระตุ้นการทำางานของเม็ด
ที่มีมากเกินไป โดยสารที่มักใช้ในปัจจุบัน เช่น เลือดขาวชนิด T cells ให้แบ่งตัวเพิ่มจำานวนและผลิต
สเตอรอยด์ ซึ่งส่งผลข้างเคียงต่อร่างกายเป็นอย่างมาก โปรตีนรวมถึงไลติกเอนไซม์ (lytic enzyme) ที่จะช่วย
ไม่ว่าจะเป็นการกดการทำางานของระบบภูมิคุ้มกันที่ ทำาลายสิ่งแปลกปลอมหรือสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้
ทำาให้ร่างกายมีความสามารถในการกำาจัดเชื้อโรคที่ ที่เข้าสู่ร่างกาย แต่การกระตุ้นดังกล่าวอาจก่อให้เกิด
ลดลง หรือแม้กระทั่งการสะสมของสารสเตอรอยด์ใน ผลข้างเคียง เช่น ทำาให้บริเวณดังกล่าวมีอาการบวม
ร่างกาย ดังนั้นการใช้สารจากธรรมชาติเพื่อช่วยยับยั้ง แดง เนื่องจากเกิดการขยายตัวของหลอดเลือดและ