Page 178 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 178

610 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           ลำาดับ และยังพบว่ามีฤทธิ์แก้ปวดในหนูเม้าส์ (albino   tumerone เป็นองค์ประกอบหลักถึง 60% รองลง
                                                                                  [36]
           mice) เมื่อทดสอบด้วยวิธี acetic acid-induced   มาคือ zingiberene ประมาณ 25%  และสารกลุ่ม
           writhing ในสารสกัด 200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จะมี  เคอร์คูมินอยด์ (curcuminoids) ซึ่งประกอบด้วยสาร
           ฤทธิ์ใกล้เคียงกับยา ibuprofen ขนาด 100 มิลลิกรัม  หลัก 3 ตัวคือ curcumin, demethoxycurcumin
                                                                                [37]
           ต่อกิโลกรัมเช่นเดียวกัน โดยมีค่าการยับยั้งเท่ากับ   และ bisdemethoxycurcumin
                                   [31]
           35.47% และ 36.67% ตามลำาดับ  และมีรายงานการ     ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของขมิ้นชันเกี่ยวกับการ
                          ้
           ศึกษาสารสกัดชั้นนำาในส่วนใบและลำาต้นของตำาลึงพบ  บรรเทาอาการอักเสบ แพ้ ผื่นคัน
                       ้
           ว่าสารสกัดชั้นนำาของใบมีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูได้     การศึกษาฤทธิ์ลดอาการคันของสาร curcumin
           มากที่สุด                                   ในหนูถีบจักรที่ถูกเหนี่ยวนำาให้เกิดอาการคันด้วย
                  [32]
                                                       ฮีสตามีน พบว่าเมื่อทาครีมที่มีส่วนผสมของสาร
           5. ขมิ้นชัน (Turmeric)                      curcumin ในขนาด 0.1, 1 และ 3% w/w สามารถ

                มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ Curcuma longa Linn.   ลดอาการคันในหนูได้อย่างมีนัยสำาคัญเมื่อเทียบกับ
           เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Zingiberaceae  รสยา เหง้า  กลุ่มควบคุมที่ทาครีมเบส (p < 0.05) โดยหนูมีจำานวน
                                        [33]
           รสฝาดหวานเอียน กลิ่นหอม โดยสรรพคุณของพืช    ครั้งของการเกาลดลงเมื่อความเข้มข้นของ curcumin
           ตามคำาแนะนำาในงานสาธารณสุขมูลฐานคือ นำาผงขมิ้น  เพิ่มขึ้น (dose-dependent) และเมื่อทำาการศึกษา
                ้
           ผสมนำามันมะพร้าวทาบริเวณที่เป็นแผล หรือใช้เหง้า  กลไกการออกฤทธิ์ พบว่าสาร curcumin สามารถ
               ้
           ฝนนำาข้น ๆ ทารักษาโรคผิวหนังผื่นคัน แก้อาการแพ้  ยับยั้งการส่งกระแสประสาทที่เหนี่ยวนำาด้วยฮีสตามีน
           และอักเสบจากแมลงกัดต่อยหรือรักษาฝี ใช้เหง้าสด  และส่งผลให้เกิดความเจ็บปวดและอาการคัน โดยไป
                                      ้
           ยาวประมาณ 2 นิ้ว ฝนหรือตำากับนำาต้มสุกทาบริเวณ  จับกับตัวรับ transient receptor potential vanil-
           ที่เป็น หรือถ้ามีเหง้าแห้ง ให้ใช้เหง้าแห้งบดเป็นผง  loid 1 (TRPV1) บริเวณ peripheral neurons ที่มี
                      ้
           ละเอียดผสมนำาเล็กน้อย ทาผิวหนัง [34]        กระจายมากมายตามผิวหนัง สอดคล้องกับผลการ
                                                                             [38]
                ขมิ้นชัน เป็นพืชสมุนไพรที่คนไทยรู้จักและ  ศึกษาวิจัยในคน โดยศึกษาแบบสุ่มโดยปกปิดสอง
           คุ้นเคยเป็นอย่างดี เนื่องจากมีการนำาใช้เป็นอาหาร  ฝ่ายเทียบกับยาหลอก (double-blind randomized
           และยารักษาโรคมาตั้งแต่โบราณ มีสรรพคุณในการ  clinical trial) ในการรักษาอาการคันในผู้ป่วยไต

                                             [35]
           บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ  ช่วย  วายเรื้อรัง (uremic pruritus) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม
           รักษาแผลในกระเพาะอาหาร และใช้รักษาอาการ     ละ 50 คน กลุ่มหนึ่งได้รับขมิ้นชันแคปซูลขนาด 500
           ท้องเสีย นอกจากนั้นขมิ้นชันยังมีสรรพคุณในการ  มิลลิกรัม (มีปริมาณ curcumin 22.1 มิลลิกรัม) อีก

           บรรเทาอาการของโรคที่เกี่ยวกับผิวหนัง เช่น อาการ  กลุ่มได้ยาหลอก โดยรับประทานครั้งละ 1 แคปซูล วัน
           อักเสบ แพ้ ผื่นคัน แมลงสัตว์กัดต่อย ช่วยสมาน  ละ 3 ครั้ง ติดต่อกันเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ประเมิน

           แผล และรักษากลากเกลื้อน เป็นต้น องค์ประกอบ  โดยใช้ pruritus score และการตรวจหาระดับของ
                                            ้
           ทางเคมีของเหง้าขมิ้นชันมี 2 กลุ่ม คือ นำามันขมิ้น  high-sensitivity C-Reactive Protein (hs-CRP)
                                   ้
           ชัน (turmeric oil) ซึ่งเป็นนำามันหอมระเหยที่มี   ซึ่งจะพบมากในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่มีอาการคัน
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183