Page 176 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 176

608 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           β-sitosterol ส่วนใบพบสาร flavonoids ซึ่งมีฤทธิ์  พังพอนตัวเมียมีฤทธิ์ยับยั้งการอักเสบในสัตว์ทดลอง
           ลดการอักเสบ สารกลุ่ม monoglycosyldiglycerides   โดยพบว่าเมื่อนำาสารสกัดเอทานอลของเสลดพังพอน

           เช่น 1,2-O-dilinolenoyl-3-O-b-d-glucopyranosyl-  ที่ความเข้มข้นร้อยละ 5 ละลายด้วยเอทานอล 95% ไป
           sn-glycerol และสารกลุ่ม glycoglycerolipids ซึ่ง  ทำาการทดสอบโดยการทาที่บริเวณผิวหนังของหนูขาว
           มีฤทธิ์ยับยั้งไวรัสเริม, ฤทธิ์ต้านพิษงู (anti-snake   พบว่าสารดังกล่าวสามารถลดการเกิดหนองและลด

           venom), ฤทธิ์ต้านการอักเสบ (anti-inflammatory   การเกิดการอักเสบแบบแกรนูโลมา (granuloma) ได้ [15]
           activity) และฤทธิ์ต้านเชื้อ herpes simplex virus
           และ varicella zoster virus [11]             3. ผักบุ้งทะเล (Goat’s Foot Creeper, Beach

                ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของเสลดพังพอนตัวเมียที่  Morning Glory)
           เกี่ยวกับการบรรเทาอาการอักเสบ แพ้ ผื่นคัน       มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ Ipomoea pes-caprae
                จากการทบทวนงานวิจัยพบว่า สารสกัดจาก    (L.) R.Br. เป็นไม้ล้มลุกอยู่ในวงศ์ Convolvula-

           เฮกเซนของใบเสลดพังพอนตัวเมียมีฤทธิ์ยับยั้งไวรัส  ceae รสยา ใบรสขื่นเย็น โดยสรรพคุณของพืชตามคำา
           เฮอร์ปีส์ซิมเพล็กซ์ทั้งชนิดที่ 1 และ 2 ซึ่งเป็นสาเหตุ  แนะนำาในงานสาธารณสุขมูลฐานคือ ใบผักบุ้งทะเลขยี้
                                                           ้
                    [12]
           ของโรคเริม  นอกจากนั้นเมื่อนำาใบของเสลดพังพอน  กับนำาส้มสายชูแล้วมาประคบผิวหนังบริเวณที่โดนพิษ
           ตัวเมียไปทำาเป็นครีมและทดสอบในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ  ไว้และห่อด้วยผ้าขาวบาง ทิ้งไว้ประมาณ 30-60 นาที
                                                                                    [16] ้
           เฮอร์ปีส์ซอสเตอร์ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรค  รอให้อาการปวดแสบปวดร้อนคลายลง  นำาคั้นจาก
           งูสวัดพบว่าแผลของผู้ป่วยหายเร็วขึ้นและมีอาการ  ลำาต้นและใบซึ่งมีสารพวก volatile esters ใช้เป็นยา
                                                 [13]
           ปวดลดลงเมื่อเทียบกับผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับยาหลอก     รักษาพิษแมงกะพรุนและช่วยลดการอักเสบผื่นคัน
           นอกจากผลต่อการยับยั้งเชื้อไวรัสยังพบว่าเสลด  ของผิวหนัง [17]
           พังพอนตัวเมียมีผลต่อการทำางานของเม็ดเลือดขาว     ผักบุ้งทะเลเป็นไม้ล้มลุก เถาเลื้อย ลำาต้นทอดไป
           ชนิดแมคโครฟาจ โดยพบว่าสารสกัดจากใบของเสลด   ตามยาวบนพื้นทรายบริเวณชายฝั่งทะเล โดยเฉพาะ

           พังพอนตัวเมียสามารถยับยั้งสาร TNF-α (tumor   ในภูมิประเทศเขตร้อน ผักบุ้งทะเลเป็นพืชสมุนไพร
           necrosis factor alpha), IFN-α (interferon alpha),   ที่มีสรรพคุณทางยาแก้ปวด แก้อักเสบ ลดอาการหด
           IL-1β (interleukin 1 beta), IL-6 (interleukin-6),   เกร็งที่ลำาไส้ และต้านโรคมะเร็ง  และเป็นสมุนไพร
                                                                               [18]
           IL-12p40 (interleukin-12 40-kDa subunit), IL-  ที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านใช้ใบสดแก้อักเสบจากพิษ
           12B (interleukin-12B) และ IL-17 (interleukin-17)   แมงกะพรุน โรคผิวหนังอักเสบ (dermatitis) และ
           จากเม็ดเลือดขาวชนิดแมคโครฟาจซึ่งสารดังกล่าวเป็น  จากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์พบว่ากลไกที่ลดการ

           สารที่กระตุ้นให้เกิดการอักเสบ โดยกลไกในการยับยั้ง  อักเสบเกิดจากการลดการสร้าง prostaglandin และ
           สารเหล่านี้เกิดจากสารสกัดของเสลดพังพอนตัวเมียมี  leukotriene  อีกทั้งพบว่ามีส่วนประกอบสำาคัญทาง
                                                                 [19]
           ฤทธิ์กระตุ้นการทำางานของ TLR-4 (toll-like recep-  เคมี ได้แก่ naphthalenone, (-)-mellein, eugenol,
           tor 4)ทำาให้สารสกัดดังกล่าวมีฤทธิ์ต้านการอักเสบได้  4-vinyl-guaiacol, lipophilic glycosides, 2-meth-

           ดี  นอกจากนั้นยังพบว่าสารสกัดเอทานอลของเสลด  ylpropanoic, (2S)-methylbutyric, n-hexanoic,
            [14]
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181