Page 177 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 177

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  609



                                                                                          ่
                                            [20]
            n-decanoic, และ n-dodecanoic acids          กันได้ตลอดทั้งปี เป็นผักที่ให้พลังงานตำาและมี
                 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของผักบุ้งทะเลที่เกี่ยวกับ  คุณค่าทางโภชนาการสูงประกอบด้วยเบตาแคโรทีน
            การบรรเทาอาการอักเสบ แพ้ ผื่นคัน            (β-carotene) ซึ่งเป็นแหล่งของวิตามินเอ วิตามินซี

                                                                                    [24]
                 น  ้ ำาคั้นจากลำาต้นและใบซึ่งมีสารพวก volatile   แคลเซียม โปรตีน และเส้นใยอาหาร  มีสารสำาคัญ
            ester ใช้เป็นยารักษาพิษแมงกะพรุนและช่วยลดการ  คือ สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ และ สารกลุ่มฟีโนลิกอีก

            อักเสบผื่นคันของผิวหนัง โดยมีรายงานฤทธิ์ทางจุล  ด้วย  ในตำารายาพื้นบ้านของไทย มีการใช้รากตำาลึง
                                                           [25]
            ชีววิทยา พบว่ามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ   แก้ดวงตาเป็นฝ้า แก้โรคตา ดับพิษทั้งปวง แก้ไข้ทุก
            Bacillus subtilis และ non pathogenic bacte-  ชนิด แก้เบาหวาน ส่วนของต้นใช้กำาจัดกลิ่นตัว นำา ้

            ria ได้ นอกจากนี้ยังมีรายงานการทดสอบฤทธิ์ทาง  จากต้นใช้รักษาเบาหวาน ส่วนของใบใช้แก้ไข้ ดับพิษ
            เภสัชวิทยาพบว่าสารสกัด IPAS จากผักบุ้งทะเลมีฤทธิ์  ร้อน ถอนพิษทั้งปวง แก้คัน แก้แมลงกัดต่อย เป็นยา
            ในการต้าน histamine น้อยกว่า diphenhydramine   โรคผิวหนัง แก้เบาหวาน และผลใช้แก้ฝีแดง  ใน
                                                                                           [26]
            hydrochloride และยา antazoline methane sul-  อินเดียและบังคลาเทศจะใช้ส่วนของรากและใบในการ
            fonate แต่ในการศึกษาผลในการต้านพิษแมงกะพรุน  รักษาเบาหวาน [27-29]

                               [21]
            พบว่ามีผลใกล้เคียงกัน  นอกจากนี้ยังพบว่าสาร      ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของตำาลึงที่เกี่ยวกับการ
            สกัดเมทานอลของผังบุ้งทะเล มีฤทธิ์ระงับปวดในหนู  บรรเทาอาการอักเสบ แพ้ ผื่นคัน
            เมื่อทดสอบด้วยวิธี writhing test และ formalin      มีรายงานการวิจัยทางเภสัชวิทยา พบว่าสารสกัด
                                                            ้
            test  และสารที่มีฤทธิ์ดังกล่าว ได้แก่ glochidone,   ชั้นนำาของใบตำาลึงมีฤทธิ์ระงับปวดเมื่อทำาการทดสอบ
                [22]
            betulinic acid, α- amyrin acetate, β-amyrin   ด้วยวิธี tail flick test โดยเมื่อเปรียบเทียบเวลาที่หนู
                                                                      ้
            acetate และ isoquercitrin เป็นต้น [23]      ทนความร้อนจากนำาร้อนได้ พบว่า 90 นาทีหลังจากให้
                                                        สารสกัดจากใบตำาลึง มีค่าเฉลี่ยของเวลาที่หนูทนความ
            4. ตำ�ลึง (Ivy gourd)                       ร้อนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับ normal saline อย่าง


                 มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coccinia gran-    มีนัยสำาคัญทางสถิติ แต่มีรายงานว่าเมื่อได้ทดสอบ
                                                                                      ้
            dis (L.) Voigt. เป็นไม้เถาเลื้อยมีมือเกาะอยู่ใน   ฤทธิ์ต้านการอักเสบ พบว่าสารสกัดชั้นนำาของใบตำาลึง
                                                                                   [30]
            วงศ์ Convolvulaceae รสยา ใบ รากรสเย็น โดย   ไม่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูแรท  นอกจากนี้มี
                                                                   ้
            สรรพคุณของพืชตามคำาแนะนำาในงานสาธารณสุข     รายงานว่าผงนำาคั้นจากผลสดที่ผ่านการทำาแห้งด้วย
            มูลฐานคือ ใช้ใบสด 1 กำามือ ล้างให้สะอาด ตำาให้  วิธี spray dry ขนาด 50-200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มี
                        ้
                                       ้
            ละเอียดผสมนำาเล็กน้อย แล้วคั้นนำาจากใบเอามา ทา  ฤทธิ์ต้านการอักเสบในหนูแรท (Sprague-Dawley
                                        ้
                             ้
            บริเวณที่มีอาการ พอนำาแห้งแล้วทาซำาบ่อย ๆ จนกว่า  rat) ที่ถูกเหนี่ยวนำาให้เกิดการอักเสบที่อุ้งเท้าด้วย
                                  ้
            จะหาย ข้อควรระวังอย่าให้นำาคั้นเปรอะเปื้อนเสื้อผ้า  สาร carrageenan และ histamine โดยที่สารสกัด
            เพราะสีจะติดนาน [5]                         ขนาด 200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จะมีฤทธิ์ใกล้เคียง
                 ตำาลึงเป็นผักสวนครัวชนิดหนึ่งที่นิยมนำา  กับยา ibuprofen ขนาด 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
            มารับประทาน เป็นผักที่ขึ้นง่าย หารับประทาน  คือมีค่าการยับยั้งเท่ากับ 63.41% และ 65.78% ตาม
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182