Page 145 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 145
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 577
วิธีก�รศึกษ� หาปริมาณสารที่ไม่ละลายในนำา ้
้
[6]
1. การสะตุสารส้ม และการหาปริมาณนำาหนักที่ 2.2 การวิเคราะห์ความเป็นกรด-ด่าง
หายไปของสารส้มหลังจากสะตุแล้ว วิธีการสะตุสารส้ม ชั่งตัวอย่าง 5.000 กรัม ใส่ beaker ละลาย
้
ชั่งสารส้มปริมาณ 100 - 150 กรัม โดยการนำาสารส้ม ด้วยนำากลั่นที่ต้มเดือดใหม่ ๆ ปล่อยให้เย็น และปรับ
มาบดละเอียดด้วยโกร่ง จากนั้นนำาสารส้มที่บดแล้ว ปริมาตรในขวดปริมาตรให้ได้ปริมาตร 100 mL คน
มาใส่ในหม้อดิน ตั้งบนเตาไฟฟ้า กำาหนดระดับความ ให้ละลาย แล้วนำาไปวัดค่ากรด-ด่าง ที่อุณหภูมิ 25 C
°
ร้อนในช่วง 1-3 เป็นระดับ 3 เมื่อรับความร้อนสารส้ม ด้วย pH meter (glass electrode)
จะละลาย ให้ตั้งสะตุไปเรื่อย ๆ เมื่อสารละลายฟูขาว 2.3 การวิเคราะห์อะลูมินา (คำานวณเป็น
และแห้งทั้งหมด โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 60 นาที Al O ) เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) ทองแดง (Cu)
2 3
จึงปิดเตา ทิ้งหม้อไว้บนเตาจนกว่าจะเย็น หลังจากนั้น สังกะสี (Zn) และ สารหนู (คำานวณเป็น As O )
2 3
นำาสารส้มที่สะตุแล้ว ออกจากหม้อดิน นำามาแร่งผ่าน วิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักด้วยเทคนิค
้
เครื่องแร่งเบอร์ 80 จะได้ผงสารส้มสะตุ ชั่งนำาหนัก Inductively coupled plasma optical emission
สารส้มที่ได้หลังจากสะตุแล้ว เก็บสารส้มที่สะตุแล้ว spectrometry (ICP-OES)
ในภาชนะปิดสนิทป้องกันความชื้น การหาปริมาณ 2.4 การวิเคราะห์เกลือแอมโมเนีย (คำานวณ
้
นำาหนักที่หายไปของสารส้มหลังจากสะตุแล้ว โดย เป็น NH )
[6]
3
้
้
การคำานวณปริมาณนำาหนักที่หายไปเทียบกับนำาหนัก ชั่งตัวอย่าง 5.000 กรัม ใส่ beaker ละลาย
้
สารส้มก่อนสะตุ ด้วยนำากลั่น 100 mL กรอง และปรับปริมาตรใน
2. การวิเคราะห์คุณภาพทางเคมีของสารส้ม ขวดปริมาตรให้ได้ปริมาตร 500 mL แล้วปิเปตต์
และสารส้มสะตุ สารละลายตัวอย่างปริมาตร 25 mL ใส่หลอดแก้ว
การวิเคราะห์คุณภาพทางเคมีของสารส้ม และ เทียบสีขนาด 100 mL เติมสารละลาย sodium car-
้
สารส้มสะตุรวม 3 ตัวอย่าง ได้แก่ A1 (สารส้ม) A2 bonate 5 mL แล้วเติมนำากลั่นให้ปริมาตรเป็น 100
(สารส้มสะตุที่มีจำาหน่ายในท้องตลาด) และ A3 mL เขย่าเบา ๆ แล้วปล่อยไว้เพื่อให้ aluminium
(สารส้มที่สะตุใหม่) hydroxide ตกตะกอน เก็บสารละลายใสส่วนบนเป็น
2.1 การวิเคราะห์สารที่ไม่ละลายนำา สารละลายตัวอย่าง
้ [6]
ชั่งตัวอย่าง 10.000 กรัม ใส่ beaker ละลาย เตรียมสารละลายมาตรฐานสำาหรับเปรียบเทียบ
้
ด้วยนำากลั่นร้อน 100 mL คนให้ละลาย นำาไปกรอง โดยปิเปตต์สารละลายมาตรฐานแอมโมเนียปริมาตร
ผ่าน sinter glass crucible ล้าง beaker ด้วยนำา ้ ต่างกันตั้งแต่ 0 mL ถึง 10 mL แยกใส่หลอดแก้วเทียบ
้
กลั่นร้อน 2 -3 ครั้ง เทนำาล้างกรองผ่าน sinter glass สีขนาด 50 mL โดยเรียงตามอนุกรมเพิ่มขึ้นหลอด
crucible ที่ใช้กรอง นำา sinter glass crucible ไปอบ ละ 0.5 mL รวม 21 หลอด ตามลำาดับ แต่ละหลอด
้
ในเตาอบไฟฟ้าควบคุมอุณหภูมิที่ 105 C ปล่อยไว้ให้ เติมนำากลั่นให้ปริมาตรเป็น 50 mL เติมสารละลาย
°
้
เย็นใน desiccator ชั่ง แล้วอบซำาจนมวลที่ชั่งได้ 2 potassium sodium tartrate 2 mL และสารละลาย
ครั้งติดต่อต่างกันไม่เกิน 1 mg นำาค่าที่ได้มาคำานวณ nessler 1 mL เขย่าให้เข้ากัน แล้วปล่อยไว้เป็นเวลา