Page 150 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 150
582 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
[5]
ตำารายาของญี่ปุ่น เมื่อเปรียบเทียบสารส้มที่นำามาเผา สำาคัญแล้ว สารส้มสะตุยังมีปริมาณโลหะหนักอื่น เช่น
้
(สะตุ) พบว่าจะมีปริมาณสารที่ไม่ละลายนำา ปริมาณ สารหนู เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ดังนั้นการนำาสารส้มสะตุ
โลหะหนัก (คำานวณเทียบกับสารตะกั่ว) ปริมาณเหล็ก มาเตรียมตำารับยาจึงมีความจำาเป็นต้องมีการควบคุม
และสารหนู สูงกว่าสารส้มโพแทชก่อนเผา (สะตุ) ดัง คุณภาพสารส้มสะตุและมีมาตรฐานการผลิตที่ดี
แสดงในตารางที่ 3 เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับโลหะหนักและแร่ธาตุ
เมื่อเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์สารส้มสะตุที่มี ต่าง ๆ ในปริมาณที่มากเกินกำาหนด นอกจากนี้ ในส่วน
จำาหน่ายในท้องตลาด A2 และสารส้มสะตุที่สะตุใหม่ ของกรรมวิธีการสะตุสารส้มก่อนนำามาปรุงยาตำารับ
A3 พบว่าสารส้มสะตุที่จำาหน่ายในท้องตลาด A2 มี พบว่าการสะตุเป็นการลดปริมาณความชื้นในตำารับ
ค่าการวิเคราะห์ใกล้เคียงกับสารส้มที่ยังไม่ได้สะตุ ยาเตรียม เนื่องจากความชื้นของสารส้มที่ไม่ได้สะตุ
A1 ซึ่งอาจเกิดจากสภาวะที่ใช้ในขั้นตอนการสะตุที่ จะให้ตำารับยาเตรียมไม่คงตัว และเกิดการปนเปื้อน
แตกต่างจากขั้นตอนของการสะตุสารส้ม A3 หรือ จากจุลินทรีย์ได้ง่าย
เกิดจากสารส้มเองที่มีคุณสมบัติในการดูดความชื้น ส่วนการสะตุตามกรรมวิธีโบราณโดยใช้หม้อดิน
ในบรรยากาศกลับเข้าในโมเลกุลได้ ซึ่งเมื่อพิจารณา นั้นมีข้อควรปฏิบัติ เช่น ห้องหรือบริเวณที่เตรียม ควร
เกณฑ์ข้อกำาหนดมาตรฐานสารส้มโพแทชในตำารา เป็นห้องที่มีอากาศถ่ายเท และสามารถเตรียมปริมาณ
[8]
ยาของญี่ปุ่น พบว่ามีการกำาหนดปริมาณความชื้น สารส้มในหม้อดินได้ตามที่ต้องการใช้ แต่ไม่ควรเกิน
สำาหรับสารส้มโพแทชเผา (สะตุ) ไว้ด้วย โดยไม่ควรมี ครึ่งของหม้อดิน เพราะเมื่อสะตุเสร็จแล้ว สารส้ม
ค่าเกินร้อยละ 15.0 ดังนั้น การเก็บรักษาสารส้มสะตุใน จะฟูมากขึ้น ส่วนการตั้งเตาไฟฟ้าสามารถใช้ระดับ
ภาชนะปิดสนิท ป้องกันความชื้น จึงมีความสำาคัญใน ความร้อนสูงได้เนื่องจากสารส้มจะเริ่มหลอมเหลว
° [5]
การรักษาคุณภาพของสารส้มสะตุพร้อมใช้ที่มีจำาหน่าย กลายเป็นสารละลายที่อุณหภูมิประมาณ 92-95 C
ในท้องตลาด เมื่อได้รับความร้อนสารส้มจะละลาย ให้ตั้งสะตุไป
การสะตุสารส้มเป็นกรรมวิธีโบราณตาม เรื่อย ๆ อาจเปิดฝาสังเกตดูเป็นครั้งคราวในระหว่าง
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเพื่อทำาให้ตัวยามีฤทธิ์ การสะตุ และรอจนกว่าสารละลายจะก่อตัวฟู และสะตุ
แรงขึ้น และเป็นการทำาให้ปราศจากเชื้อ ข้อมูลผลการ ต่อจนสารละลายฟูขาว และแห้งทั้งหมด เมื่อสารส้มฟู
วิเคราะห์ที่ได้จากการศึกษานี้ช่วยสนับสนุนภูมิปัญญา ขาวจึงปิดเตา หลังจากปิดเตาไฟฟ้าแล้ว ควรตั้งหม้อ
การนำาสารส้มสะตุมาเข้าตำารับยาโรคสตรี เช่น ตำารับ ดินไว้บนเตาจนกว่าจะเย็น เมื่อใช้เตาไฟฟ้าที่มีกำาลัง
ไฟห้ากอง และตำารับไฟประลัยกัลป์ ซึ่งเมื่อสะตุแล้ว ไฟขนาด 1500 วัตต์ จะใช้ระยะเวลาสะตุจนสารส้มฟู
อาจมีผลให้ประสิทธิศักย์ของตำารับยามีสูงกว่าการใช้ ขาวและแห้งประมาณ 1 ชั่วโมง
สารส้มธรรมดาที่ไม่ได้สะตุ เนื่องจากสารส้มที่สะตุแล้ว
มีปริมาณแร่ธาตุที่สำาคัญ ได้แก่ เหล็ก ทองแดง และ ข้อสรุป
แคลเซียม เพิ่มขึ้น 2-5 เท่า ส่วนแร่ธาตุสังกะสีเพิ่มขึ้น ผลการศึกษาคุณภาพทางเคมีของสารส้มสะตุ
เล็กน้อย ซึ่งแร่ธาตุดังกล่าวโดยเฉพาะธาตุเหล็กเป็นแร่ พบว่าสารส้มที่นำามาสะตุเป็นชนิดสารส้มแอมโมเนียม
้
ธาตุในการบำารุงเลือด อย่างไรก็ตาม นอกจากแร่ธาตุที่ และเมื่อสะตุแล้วพบว่ามีปริมาณสารที่ไม่ละลายนำา