Page 99 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 99

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  321




            เบาหวานชนิดที่ 2                            84.3 มิลลิลิตรต่อนาที รายละเอียดปรากฏในตารางที่
                 การศึกษาผลกระทบจากการใช้ยามะระขี้นก    6

            แคปซูล พิจารณาจากค่าการทำางานของไต คือ eGFR      ในระยะที่เสริมการรักษาด้วยมะระขี้นกแคปซูล
            และการทำางานของตับ ซึ่งในการศึกษานี้พิจารณาจาก  และตรวจติดตามที่ 4, 8 และ 12 สัปดาห์ พบว่ามีค่า
            ความเปลี่ยนแปลงของของเอนไซม์ตับคือค่า AST   eGFR เฉลี่ย 84.81, 84.49 และ 84.91 มิลลิลิตรต่อ

            และ ALT                                     นาที ตามลำาดับ รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 7
                                                                                            ้
                 ค่�ก�รทำ�ง�นของไต ในการศึกษานี้ใช้ค่าอัตรา     จากการทดสอบความแปรปรวนแบบวัดซำา ไม่
            การกรองของไต (eGFR) ในการประเมิน โดยหากเป็น  พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญระหว่างค่าการ

            ยาที่มีผลต่อการทำางานของไต จะทำาให้ความสามารถ  ทำางานของไตเฉลี่ยทั้งในกลุ่มหลังให้มะระขี้นก ราย
            ในการขับสารครีเอตินินออกจากร่างกายลดลง จึง  ละเอียดปรากฏในตารางที่ 8
                                              [18]
            ตรวจพบค่าครีเอตินินในเลือด (Cr) เพิ่มขึ้น  และ     ค่�ก�รทำ�ง�นของตับ ในการศึกษานี้พิจารณา
            พบค่า eGFR ลดลง ในการศึกษานี้พบว่า ในระยะก่อน  จากค่าเอนไซม์ของตับ ได้แก่ AST และ ALT ที่
            การให้ยามะระขี้นกมีค่า eGFR เฉลี่ย 87.36 มิลลิลิตร  เปลี่ยนแปลงไป โดยระดับเอนไซม์ทั้ง 2 ชนิดนี้มีความ

            ต่อนาที เมื่อติดตามที่ 4 สัปดาห์ พบว่ามี eGFR มีค่า   ไวต่อการอักเสบและการตายของเซลล์ตับ ดังนั้นหาก
                                                        ตรวจพบเอนไซม์ทั้ง 2 นี้มีค่าสูงขึ้น 100-2,000 ยูนิต
                                                        ต่อลิตร แสดงว่ามีโอกาสที่เซลล์ตับเกิดการเสียหาย
            ตารางที่ 6  ก�รเปลี่ยนแปลงของค่�ก�รทำ�ง�นของไต   โดยอาจมีสาเหตุจากอาการไม่พึงประสงค์ของยาหรือ
                     (eGFR) ก่อนให้มะระขี้นก
                                                              [18]
                                                        สารพิษ  ในระยะก่อนการให้ยามะระขี้นกมีค่า AST
                          ก่อนเริ่มการศึกษา   4 สัปดาห์  เฉลี่ย 24.8 หน่วยต่อลิตร เมื่อติดตามที่ 4 สัปดาห์พบ

             ค่�ก�รทำ�ง�น   87.4 ± 17.0   84.3 ± 17.9   ว่ามีค่า AST เฉลี่ย 27.3 หน่วยต่อลิตร รายละเอียด
             ของไต (eGFR)                               ปรากฏในตารางที่ 9



            ตารางที่ 7 ผลของก�รเสริมก�รรักษ�ด้วยมะระขี้นกแคปซูลต่อค่�ก�รทำ�ง�นของไต (eGFR) หลังได้รับมะระขี้นก

                                     ก่อนเริ่มการศึกษา   สัปดาห์ที่ 4   สัปดาห์ที่ 8   สัปดาห์ที่ 12

             ค่�ก�รทำ�ง�นของไต (eGFR)   84.5 ± 18.1   84.81 ± 18.6   84.49 ± 17.7   84.91 ± 18.43



            ตารางที่ 8 ก�รวิเคร�ะห์คว�มแปรปรวนค่�ก�รทำ�ง�นของไต (eGFR) หลังได้รับมะระขี้นก

             แหล่งความแปรปรวน                          SS           Df          MS          F

             หลังได้รับมะระขี้นก   Within subject    4.375          3          1.458       0.07
                                 Within cell        1983.81        93          21.33

            “ * ” มีนัยสำ�คัญท�งสถิติที่ p-value < 0.05
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104