Page 94 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 94
316 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
้
[14]
สมุนไพรหลายชนิดที่อาจมีผลควบคุมระดับนำาตาลใน คณะ ที่ให้มะระขี้นก 6,000 มิลลิกรัมต่อวันนาน 1
เลือด เช่น มะระขี้นก ช้าพลู กระเพรา เตยหอม อบเชย เดือนซึ่งไม่พบความแตกต่างทางสถิติในการลดระดับ
้
เป็นต้น แต่อาจยังมีข้อมูลทางวิชาการสนับสนุนไม่มาก นำาตาลสะสม
้
พอ การศึกษานี้สนใจที่จะศึกษาผลของมะระขี้นก ซึ่ง ผลต่อระดับนำาตาลในเลือดหลังอดอาหาร พบ
้
ปัจจุบันเป็นยาที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติว่าสามารถ ว่ามีทั้งการศึกษาที่ลดระดับนำาตาลในเลือดหลังอด
้
จะลดระดับนำาตาลในเลือดได้หรือไม่ โดยข้อบ่งชี้ อาหารได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ [11-13,15-16] โดยขนาด
่
ปัจจุบันคือ ใช้เพื่อแก้ไข้ ร้อนใน และเจริญอาหาร [4] มะระขี้นกตำาสุดที่ใช้และพบความแตกต่างคือ 2,000
[11]
มะระขี้นก (ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantia มิลลิกรัมต่อวัน นานอย่างน้อย 10 สัปดาห์ ขณะที่
หรือชื่อสามัญ เช่น bitter melon, bitter gourd) บางการศึกษาไม่มีความแตกต่างทางสถิติ [14,17]
เป็นสมุนไพรพื้นบ้านในแถบเอเชีย แอฟริกา ละติน ความปลอดภัยในการใช้มะระขี้นกในคน มี
อเมริกา มีการใช้มะระขี้นกทั้งในแง่เป็นอาหาร และ การศึกษาที่ให้สารสกัดมะระขี้นก 6,000 มิลลิกรัม
เป็นยามาอย่างยาวนาน มีการสำารวจความชุกของการ ต่อวันนาน 16 สัปดาห์ ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของค่า
ใช้สมุนไพรเพื่อควบคุมโรคเบาหวานในบังคลาเทศ creatinine, AST, ALT อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ [18]
[5]
และมาเลเซีย พบว่ามีการใช้มะระขี้นกมากเป็นอันดับ สำาหรับผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย มีการรายงาน
[6]
หนึ่ง ว่าพบผลข้างเคียงคือ ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ [11,15] และ
มีการศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของมะระขี้นกใน อาการนำ้าตาลในเลือดตำ่า [12,15] โดยอาการที่เกิดขึ้น
โรคเบาหวานโดยทดลองในหนู พบกลไกการออกฤทธิ์ สัมพันธ์กับขนาดยามะระขี้นกที่สูงขึ้น
[7-9]
ได้แก่ กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน , ยับยั้งกระบวนการ จากข้อมูลข้างต้น พบว่ามะระขี้นกมีกลไกการ
[7,9] ้
glycogenolysis ที่ตับ , เพิ่มสารต้านอนุมูลอิสระ , ออกฤทธิ์ที่น่าจะสามารถลดระดับนำาตาลในเลือด
[10]
[8]
เพิ่มความไวต่อการตอบสนองต่ออินซูลิน , ยับยั้ง ได้ แต่ข้อมูลเรื่องผลการใช้ยังมีความแตกต่างกันใน
การทำางานของเอนไซม์ sucrase ที่ลำาไส้เล็ก , ยับยั้ง แต่ละการศึกษา โดยยังไม่มีขนาดยาที่แนะนำาชัดเจน
[8]
การทำางานของเอนไซม์ hexokinase และเพิ่มระดับ ตลอดจนระยะเวลาการให้ยาที่เหมาะสม
[8]
โปรตีนในเลือด [9] การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อศึกษา
[11]
การศึกษาของ Inayat และคณะ ให้สารสกัด ผลของการเสริมการรักษาด้วยมะระขี้นกชนิดแคปซูล
้
มะระขี้นกในคน พบว่าเมื่อให้มะระขี้นก 2,000 และ ต่อระดับนำาตาลสะสมในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มี
4,000 มิลลิกรัมต่อวัน นาน 10 สัปดาห์ สามารถ วัตถุประสงค์รอง ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาผลต่อระดับ
้
้
ลดระดับนำาตาลสะสมได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ นำาตาลในเลือดหลังอดอาหาร 2. เพื่อศึกษาผลต่อค่า
สอดคล้องกับการทบทวนวรรณกรรม อีกการศึกษา การทำางานของไตและตับ และ 3. เพื่อศึกษาผลต่อการ
้
้
หนึ่งที่พบว่าสารสกัดมะระขี้นกลดนำาตาลสะสมลง เกิดอาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่และอาการนำาตาลใน
่
ได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ต่างกับการศึกษาของ เลือดตำา การศึกษานี้ได้ทำาในศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง
[12]
Michael และคณะ ที่ให้มะระขี้นก 2,500 มิลลิกรัม ชลบุรี อำาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เนื่องจากเป็นหน่วย
[13]
ต่อวันนาน 8 สัปดาห์และการศึกษาของ Richard และ งานปฐมภูมิซึ่งรับหน้าที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและ