Page 97 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 97

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  319




            3 เป็นเพศหญิง (63.6%) กลุ่มอายุน้อยกว่า 60 ปีและ  เดือนที่ผ่านมา ตามแนวทางเวชปฏิบัติสำาหรับโรค
                                                               [1]
            มากกว่า 60 ปี มีจำานวนใกล้เคียงกัน (45.4% และ   เบาหวาน  ได้กำาหนดเป้าหมายในการดูแลผู้ป่วย
            54.6% ตามลำาดับ) ผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนใหญ่ (90.9%)   เบาหวาน ใช้ระดับนำ้าตาลสะสมเป็นเป้าหมาย โดย
            มีดัชนีมวลกายมากกว่า 22.9 ผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนใหญ่   ควบคุมให้ระดับนำ้าตาลสะสมไม่เกิน 6.5%
            (75.8%) มีค่าความดัน systolic ก่อนเข้าร่วมโครงการ     ในระยะก่อนให้มะระขี้นก พบว่าเมื่อตรวจ

            มากกว่า 120 มิลลิเมตรปรอท ผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนใหญ่   ติดตามระดับนำ้าตาลสะสมเฉลี่ยพบว่าเปลี่ยนแปลง
            (69.7%) ป่วยเป็นเบาหวานเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 10   จาก 7.72 เป็น 7.74 ซึ่งไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ใน
            ปี ผู้เข้าร่วมวิจัยเกือบทั้งหมด (97.0%) มีโรคประจำา  ระยะที่เสริมการรักษาด้วยมะระขี้นก ตรวจติดตาม

            ตัวอื่นร่วมด้วย โดยมีโรคร่วมที่พบมาก 2 อันดับแรก   เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่าระดับนำ้าตาลสะสมเฉลี่ย
            ได้แก่ โรคไขมันสูง (87.9%) และโรคความดันโลหิตสูง   ลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติโดยลดจาก 7.74 เป็น
            (69.7%) ตามลำาดับ รายละเอียดดังปรากฏในตารางที่ 1  7.32 รายละเอียดดังปรากฏในตารางที่ 2

                                                             ผลของการเสริมการรักษาด้วยมะระขี้นก
            2. ผลของก�รเสริมก�รรักษ�ด้วยมะระขี้นก       แคปซูลต่อระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารใน
                                ้
            ชนิดแคปซูลต่อระดับนำ�ต�ลสะสมในผู้ป่วยเบ�    ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
            หว�นชนิดที่ 2                                    ระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหาร เป็นระดับ

                 ระดับนำ้าตาลสะสม คือ ค่าเฉลี่ยของนำ้าตาลใน  นำ้าตาลในเลือดที่ตรวจเมื่อให้ผู้รับการตรวจอดอาหาร

            เลือดของฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงในช่วง 3-4   เป็นเวลาอย่างน้อย 8 ชั่วโมง มีประโยชน์ในการติดตาม



            ตารางที่ 1 จำ�นวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่�งจำ�แนกต�มข้อมูลทั่วไป (จำ�นวนผู้เข้�ร่วมวิจัยทั้งหมด 33 ร�ย)

             ข้อมูลทั่วไป                 จำานวน  ร้อยละ   ข้อมูลทั่วไป            จำานวน  ร้อยละ

             เพศ                                           ระยะเวล�ที่ป่วยเป็นเบ�หว�น
               ช�ย                          12    36.4       น้อยกว่� 10 ปี         23     69.7
               หญิง                         21    63.6       ม�กกว่�หรือเท่�กับ 10 ปี   10   30.3
             อ�ยุ                                          โรคร่วม
                น้อยกว่� 60 ปี              15    45.4       ไม่มีโรคร่วม            1      3
                เท่�กับหรือม�กกว่� 60 ปี    18    54.6       มีโรคร่วม              32     97
             ดัชนีมวลก�ย                                     ไขมันสูง               29     87.9
                น้อยกว่� 18.5               0      0         คว�มดันโลหิตสูง        23     69.7
                18.5-22.9                   3     9.1        โรคไต                   2      6
                ม�กกว่� 22.9                30    90.9       โรคหลอดเลือดสมอง        1      3
             คว�มดัน systolic ก่อนเข้�ร่วมโครงก�ร            โรคหัวใจ                0      0
                น้อยกว่� 120 mmHg           8     24.2       โรคร่วมอื่นๆ            4     12.1
                เท่�กับหรือม�กกว่� 120 mmHg   25   75.8
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102