Page 96 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 96

318 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           ในช่วง 4 สัปดาห์ก่อนเข้าร่วมโครงการ         วิธีก�รศึกษ�
                7.  ระดับนำ้าตาลสะสมก่อนเข้าร่วมโครงการ     รูปแบบวิธีก�รศึกษ� Non-randomized con-

           มากกว่าหรือเท่ากับ 10.5 และมีระดับนำ้าตาลหลังอด  trolled quasi experimental study
           อาหารมากกว่า 250 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์           ย�ที่ใช้ มะระขี้นกแคปซูล ขนาด 450 มิลลิกรัม
                เกณฑ์ก�รยุติก�รเข้�ร่วมโครงก�รของผู้เข้�  ต่อแคปซูล ซึ่งเป็นยาที่มีใช้ในห้องยาศูนย์สุขภาพ
           ร่วมวิจัย (discontinuation criteria)        ชุมชนเมืองชลบุรี สั่งผ่านองค์การเภสัชกรรม

                1.  ผู้เข้าร่วมวิจัยประสงค์จะถอนตัว        ขั้นตอนก�รศึกษ� ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างจำานวน
                2.  มีอาการที่สงสัยว่าจะเกิดจากการแพ้   1 กลุ่ม โดยในระยะที่ 1 ให้ผู้เข้าร่วมวิจัย รับยาโรค

           มะระขี้นก                                   ประจำาตัวเดิมพร้อมให้ความรู้ในการปฏิบัติตัว และนัด
                3.  ระหว่างการตรวจติดตาม ระดับนำ้าตาลหลัง  ตรวจติดตามเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ หลังจากนั้นให้
           อดอาหาร มากกว่า 250 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์    มะระขี้นกแคปซูล (แคปซูลละ 450 มิลลิกรัม) ขนาด

                4.  เมื่อตรวจติดตาม พบค่า eGFR ลดลง 30   2,700 มิลลิกรัมต่อวัน รับประทานครั้งละ 2 เม็ด 3 มื้อ
           เปอร์เซ็นต์ จากค่าเดิมของผู้ป่วย            เช้า กลางวัน และเย็น หลังอาหารโดยให้ร่วมกับยาโรค

                5.  เมื่อตรวจติดตามพบค่า AST หรือ ALT สูง  ประจำาตัวเดิม ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัว และนัดตรวจ
           ขึ้น 3 เท่าจากค่าเดิมของผู้ป่วย             ติดตามทุก 4 สัปดาห์จนครบ 12 สัปดาห์
                6.  ขาดการรับประทานมะระขี้นก มากกว่า 3      โดยตรวจนำ้าตาลสะสมในสัปดาห์แรก, สัปดาห์

           ครั้งต่อสัปดาห์                             ที่ 4 และ 16 ตรวจระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหาร,
                โดยมีจำานวนผู้ผ่านเกณฑ์การวิจัยจนถึงขั้นแปล  ค่าการทำางานของไต (eGFR), ค่าการทำางานของตับ

           ผล ทั้งสิ้น 33 ราย (ภาพที่ 1)               (AST และ ALT) ทุก 4 สัปดาห์จนจบการศึกษา
                                                           วิเคร�ะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

            อาสาสมัครที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้า  คัดออกตำมเกณฑ์คัดออก  สำาเร็จรูป SPSS version 24
                  N = 38                 N = 3             สถิติที่ใช้ การวัดข้อมูลทั่วไปเป็นร้อยละ การวัด
                                  -  โรคตับ (N = 1)
                                  -  eGFR < 45 (N = 1)  ข้อมูลทางห้องปฏิบัติการ เปรียบเทียบก่อนและหลัง
                                  -  FBS > 250 และ     เข้าร่วมการศึกษาโดยยังไม่ได้รับมะระขี้นก วิเคราะห์
            อาสาสมัครที่เข้าร่วมโครงการ     HbA1C> 10.5 (N = 1)
                  N = 35                               โดย paired t-test หลังได้มะระขี้นก การเปรียบเทียบ
                                                             ้
                                         ถอนตัว        ข้อมูลซำาในสัปดาห์ที่ 4, สัปดาห์ที่ 8 และสัปดาห์ที่ 12
                                          N = 2        วิเคราะห์โดย Repeated measure ANOVA
                                   -  ไม่สะดวกเดินทาง (N = 1)
                                   -  ขาดยามะระขี้นกเกิน
            อาสาสมัครที่เข้าร่วมจนจบ     3 ครั้ง/สัปดาห์ (N = 1)
            โครงการ                                                 ผลก�รศึกษ�
                   N = 33
                                                       1. ข้อมูลทั่วไป
           ภาพที่ 1  จำ�นวนผู้เข้�ร่วมวิจัยที่ได้รับก�รคัดเข้�ร่วม
                   โครงก�ร                                 การศึกษานี้ มีผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสิ้น 33 ราย 2 ใน
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101