Page 101 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 101

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  323




            ตารางที่ 14 ก�รวิเคร�ะห์คว�มแปรปรวนค่�ก�รทำ�ง�นของตับ (ALT) หลังได้รับมะระขี้นก

             แหล่งความแปรปรวน                        SS           Df           MS           F
             หลังได้รับมะระขี้นก   Within subject   139.19        3          46.40         0.82
                                 Within cell      5264.81         93         56.61

            “ * ” มีนัยสำ�คัญท�งสถิติที่ p-value < 0.05




                                                ้
                 จากการทดสอบความแปรปรวนแบบวัดซำา ไม่    ตารางที่ 15  จำ�นวนผู้เข้�ร่วมวิจัยที่เกิดผลข้�งเคียงหลัง
            พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญระหว่างค่า ALT           จ�กได้รับย�มะระขี้นกแคปซูล
            เฉลี่ยหลังให้มะระขี้นก รายละเอียดปรากฏในตาราง  ผลข้างเคียง          จำานวน    ร้อยละ
            ที่ 14                                       อ�ก�รปวดท้องบริเวณลิ้นปี่   2      6

                 เมื่อติดตามผลกระทบต่อการทำางานของไตและ  อ�ก�รแสดงภ�วะนำ้�ต�ลตำ่�   2       6
            ตับ หลังจากเสริมการรักษาด้วยมะระขี้นกแคปซูล ไม่

            พบผลกระทบที่เป็นอันตราย โดยไม่พบค่าการทำางาน
            ของไตที่ลดลงอย่างมีนัยสำาคัญ และไม่พบการเพิ่มขึ้น  จากนั้นเมื่อมีอาการผิดปกติจึงกลับไปรับประทานตาม
            ของเอนไซม์ตับอย่างมีนัยสำาคัญ               เดิม ไม่ปรากฏอาการผิดปกติอีก

                 ผลของการเสริมการรักษาด้วยมะระขี้นกชนิด      รายที่มีอาการนำ้าตาลในเลือดตำ่า รายแรกมี
            แคปซูลต่ออาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่และอาการ  อาการช่วงสัปดาห์ที่ 8 จำานวน 3 ครั้ง อาการไม่รุนแรง
            ระดับนำ้าตาลในเลือดตำ่าในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2  รายที่ 2 มีอาการช่วงสัปดาห์ที่ 12 จำานวน 1 ครั้ง มี

                 หลังจากให้การเสริมการรักษาด้วยยามะระขี้นก  อาการไม่รุนแรง ทั้ง 2 รายให้ข้อมูลว่า ช่วงสัปดาห์ที่มี
            แคปซูลไปแล้ว พบว่ามีผู้เข้าร่วมวิจัยเกิดอาการปวด  อาการเป็นช่วงที่ทำางานและไม่สะดวกรับประทานยา
            ท้องบริเวณลิ้นปี่ 2 ราย (6%) และมีอาการแสดงของ  มื้อกลางวัน จึงรับประทานยามะระขี้นก 2 มื้อ จาก 2

            ระดับนำ้าตาลในเลือดตำ่า จำานวน 2 ราย (6%) ราย  เม็ด 3 เวลา เช้า กลางวัน เย็น เปลี่ยนเป็น 3 เม็ด เช้า
            ละเอียดปรากฏในตารางที่ 15                   เย็น จากนั้นเมื่อมีอาการผิดปกติจึงกลับไปรับประทาน

                 โดยรายที่เกิดอาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ ราย  ตามเดิม ไม่ปรากฏอาการผิดปกติอีก
            แรกเกิดอาการในช่วงสัปดาห์ที่ 8 จำานวน 2 ครั้ง ราย
            ที่ 2 เกิดอาการช่วงสัปดาห์ที่ 4 จำานวน 2 ครั้ง และช่วง    อภิปร�ยผล

            สัปดาห์ที่ 8 จำานวน 3 ครั้ง ทั้ง 2 ราย ไม่มีประวัติรักษา     การศึกษาผลของการเสริมการรักษาด้วยมะระ
            โรคกระเพาะเรื้อรังมาก่อน รายที่ 2 ให้ข้อมูลว่า ช่วงที่  ขี้นกชนิดแคปซูลในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยการ

            มีอาการเป็นช่วงที่ไม่สะดวกรับประทานยาในมื้อกลาง  ให้ยามะระขี้นกแคปซูล ขนาด 2,700 มิลลิกรัมต่อวัน
            วัน จึงรับประทานยามะระขี้นก 2 มื้อ จาก 2 เม็ด 3 เวลา   ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์
            เช้า กลางวัน เย็น ปรับเปลี่ยนเป็น 3 เม็ด เช้า และเย็น   พบว่าระดับนำ้าตาลสะสมลดลงเฉลี่ย 0.42 อย่างมีนัย
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106