Page 222 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 222

444 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           ชนิดหอมระเหยเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของชี่ ขับระเหย  肺气上逆 (fèi qì shàng nì): 肺气不降反而上逆, 以
           ความชื้น ใช้รักษาภาวะโรคความชื้นอุดกั้น ต�ารับยาที่ใช้  喘咳症状为特点 。
           บ่อยคือ ฮั่วพ่อเซี่ยหลิงทางและซานเหรินทาง   เฟ่ยชี่ซ่างนี่: ชี่ปอดย้อนขึ้น ชี่ปอดไม่กระจายลงล่างแต่
                                                       กลับย้อนขึ้นบน มีอาการไอและหอบเป็นส�าคัญ
           aroma resolving damp method: a therapeutic
                                                       lung qi upward reversion: Lung qi fails to descend
           method using aromatic drugs to regulate qi flow
                                                       but reverse upwards, significantly characterized by
           and resolve damp. It is indicated in damp obstruction
                                                       cough and dyspnea.
           disease-condition. The common formulas are
           huopoxialing decoction and sanren ecoction.
                                                       肺热叶焦 (fèi rè yè jiāo): 肺脏被郁热长期熏灼而
                                                       发生肺痿
           肺络损伤 (fèi luò sǔn shāng):  肺的络脉受损, 以               。
                                                       เฟ่ยเร่อเย่เจียว: ปอดร้อนกลีบไหม้ ปอดถูกความร้อน
           咳血症状为特点
                         。                             ที่อัดอั้นภายในเผาเป็นเวลานานจนเหี่ยวแห้ง
           เฟ่ยลั่วสุ่นซาง: หลอดเลือดปอดเสียหาย หลอดเลือด
           ปอดถูกท�าลาย มีอาการไอเป็นเลือดเป็นส�าคัญ   heated lung charred lobe: The lung have been
                                                       burnt by accumulated heat for a long time resulting
           lung vessels damage: Lung vessels get damaged,
                                                       in lung atrophy.
           significantly characterized by hemoptysis.


                                                       肥人多痰 (féi rén duō tán):  形体肥胖之人, 多由
           肺气 (fèi qì):  肺功能活动的总称
                                      。
           เฟ่ยชี่: ชี่ปอด ค�าเรียกรวมของหน้าที่ปอด    痰湿积聚所致     。
                                                       เฝยเหรินตัวถาน: คนอ้วนเสมหะมาก คนรูปร่างอ้วน มัก
           lung qi: A term implies the overall functions of the
                                                       เกิดจากเสมหะ-ความชื้นสะสม
           lung.
                                                       obese people excessive phlegm: Obesity is usually
                                                       caused by phlegm-damp accumulation.
           肺气不利 (fèi qì bù lì): 肺气宣发肃降和通调水道
           功能障碍
                   。
           เฟ่ยชี่ปู๋ลี่: ชี่ปอดไม่คล่อง หน้าที่ของปอดในการกระจาย  肺肾相生 (fèi shèn xiāng shēng):  肺属金, 肾属
           ชี่ออกนอก-ขึ้นบนและเข้าใน-ลงล่าง รวมทั้งการปรับทาง  水 肺金和肾水是母子关系, 故又称“金水相
                                                         。
           ระบายน�้าขัดข้อง                            生” 两者在生理上互相滋生, 病变时相互影
                                                         。
                                                       响
           lung qi impairment: Lung qi fails its functions to   。
                                                       เฟ่ยเซิ่นเซียงเซิง: ปอดแม่ไตลูก ปอดสังกัดธาตุโลหะ
           descend outward-upwards and inward-downwards
                                                       ไตสังกัดธาตุน�้า โลหะให้ก�าเนิดน�้า ปอดและไตมีความ
           including to regulate water drainage pathway.
                                                       สัมพันธ์เชิงแม่ลูกกัน ทั้ง 2 อวัยวะท�าหน้าที่เกื้อกูลกัน
                                                       และกระทบซึ่งกันและกันยามเจ็บป่วย; จินสุ่ยเซียงเซิง
           肺气不宣 (fèi qì bù xuān):  肺气失去升发宣散
                                                 。     ก็เรียก
           เฟ่ยชี่ปู้เซฺวียน: ชี่ปอดไม่กระจาย ปอดสูญเสียหน้าที่ใน
           การกระจายชี่ออกนอก-ขึ้นบน                   lung-kidney mutual promotion: Lungs pertain to
                                                       the metal while kidneys pertain to the water. The
           lung qi dispersal failure: Lung qi fails its function
                                                       metal generates the water. It is mother-child
           to disperse outward-upwards.
                                                       relationship between the lung and kidney that they
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227