Page 225 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 225

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  447




            หาสารจำาพวกเปปไทด์ที่สกัดได้จากพืชสมุนไพรไทย  Thammasat University, Pathum Thani 12121,
            ที่สามารถต้านไวรัสเดงกีได้ โดยได้ทำาการสกัดสาร   Thailand.
            สกัดเปปไทด์จากพืชสมุนไพรทั้งสิ้น 33 ชนิด พบว่า    † Division of Molecular Medicine, Department
            สารสกัดเปปไทด์จากพืชสีเสียดไทย [Acacia cat-  of Research and Development, Faculty of
            echu (L.F.) Willd] ให้ผลต้านไวรัสเดงกีที่ดีที่สุดใน  Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University,
            หลอดทดลอง (in vitro) โดยสามารถต้านไวรัสเดงกี   Bangkok 10700, Thailand.
            ได้ทั้ง 4 สายพันธุ์ คือ DENV-1, DENV-2, DENV-  ‡ Research Division, Faculty of Medicine Siriraj
            3 และ DENV-4 จากนั้นผู้วิจัยจึงได้ทำาการพิสูจน์  Hospital, Mahidol University, Bangkok 10700,
            เอกลักษณ์ของสารเปปไทด์จากสีเสียด 4 ชนิด พบว่า มี   Thailand; Center for Emerging and Neglected
            2 ชนิด ที่ให้ผลต้านไวรัสเดงกีได้ดีที่สุด คือ Peptide-2   Infectious Disease, Mahidol University, Bang-
            และ Peptide-4 หลังจากนี้ คงต้องทำาการศึกษาเพิ่ม  kok 73170, Thailand.
            เติมเพื่อหากลไกการต้านไวรัสของสารเปปไทด์ทั้ง 2   § Division of Molecular Medicine, Department
            ชนิดนี้ และทำาการวิจัยเพิ่มเติม ทั้งระดับพรีคลินิกและ  of Research and Development, Faculty of
            ระดับคลินิกก่อนที่จะนำาไปพัฒนา เป็นยารักษาโรค  Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University,
            ไข้เดงกี (Dengue fever) และโรคไข้เลือดออกเดงกี   Bangkok 10700, Thailand.
            (Dengue hemorrhagic fever) ต่อไป            Virus Research. 2017 Aug 15;240:180-9.
                                                             โรคไข้เดงกี (Dengue fever) และโรคไข้เลือด
            *,† Panya A, Yongpitakwattana P, Budchart P,   ออกเดงกี (Dengue hemorrhagic fever) เกิดจาก
            Sawasdee N, Krobthong S, Paemanee A, Roytr-  การติดเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue virus) ในมนุษย์นั้น
            akul S, Rattanabunyong S, Choowongkomon K,   จะเกิดการสร้างไวรัสจำานวนมากและมีการสร้างสาร
            Yenchitsomanus PT. Novel bioactive peptides   กลุ่มไซโทไคน์ (cytokine) ปริมาณมากเช่นเดียวกัน
            demonstrating anti-dengue virus activity isolated   ซึ่งจะทำาให้เกิดอาการของโรครุนแรง และยาต้าน
            from the Asian medicinal plant Acacia catechu.   ไวรัสเดงกีโดยตรงก็ยังไม่มี รวมถึงยังไม่มีวัคซีนที่
            Chem Biol Drug Des. 2019 Feb;93(2):100-9. doi:   ปลอดภัยและมีประสิทธิผลดีสำาหรับโรคจากไวรัส
            10.1111/cbdd.13400.                         เดงกี ดังนั้นนักวิจัยกลุ่มนี้ จึงทำาการศึกษาวิจัยหา
                                                        สารหรือยาที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสเดงกี โดยลดการสร้าง
             สารอัลฟา-แมงโกสทีน (Alpha-magostin) จากเปลือก   ไวรัสและลดการสร้างสารกลุ่มไซโทไคน์ ซึ่งนักวิจัย
             ของผลมังคุด (Garcinia mangostana Linn.)    กลุ่มนี้ได้พบว่าสารสกัดจากเปลือกของผลมังคุด
             สามารถยับยั้งการสร้างไวรัสเดงกี (Dengue virus)    (Garcinia mangostana Linn.) ที่ชื่อ แอลฟา-
             และการแสดงออกของสารกลุ่มไซโทไคน์/คีโมไคน์   แมงโกสทีน (Alpha-mangostin) น่าจะมีฤทธิ์ดัง
             (cytokine/chemokine) ในเซลล์เพาะเลี้ยงที่ติดเชื้อ *,†  กล่าว จึงทำาการศึกษาวิจัยผลต้านไวรัสเดงกีของสาร
                                                        แอลฟา-แมงโกสทีน ในเซลล์เพาะเลี้ยงที่ติดเชื้อไวรัส
            Mayuri Tarasuk , Pucharee Songprakhon ,     เดงกี ผลการทดลองพบว่า สารแอลฟา-แมงโกสทีน
                                                   †
                           *
            Pattamawan Chimma , Panudda Sratongno ,     สามารถยับยั้งอัตราการติดเชื้อไวรัสเดงกีทั้ง 4 สาย
                                                   ‡
                               ‡
            Kesara Na-Bangchang ,                       พันธุ์ (DENV-1, DENV-2, DENV-3 และ DENV-4)
                                *
            Pa-Thai Yenchitsomanus §                    ได้ และลดการแสดงออก (expression) ของสารกลุ่ม
             Graduate Program in Bioclinical Sciences,   ไซโทไคน์ (cytokine) และคีโมไคน์ (chemokine) ได้
            *
            Chulabhorn International College of Medicine,   โดยสารแอลฟา-แมงโกสทีน มีฤทธิ์แรงกว่าสารต้าน
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230