Page 156 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 156
378 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
ฟื้นฟูองค์ความรู้สมุนไพรพื้นบ้านแก่เยาวชนผ่าน อยู่โดยเฉพาะกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้จาก
กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน ทั้งนี้ ในพื้นที่ บรรพบุรุษ นอกจากนี้ในชุมชนยังคงดำาเนินกิจกรรม
มีหมอสมุนไพรพื้นบ้านที่มีความเชี่ยวชาญซึ่งอาจ ด้านพิธีกรรมล้านนาที่มีผลต่อการสร้างเสริมกำาลังใจ
จะนำามาพัฒนาศักยภาพในส่วนที่เกี่ยวข้องสู่การใช้ เมื่อเผชิญปัญหาอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับบ้านหัวเสือ
ประโยชน์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพได้ ซึ่งนิยมการรักษาแบบแผนปัจจุบัน แต่ก็ยังมีการ
4.2 การเสริมพลังอำานาจชุมชนสู่การพัฒนา ถ่ายทอดวัฒนธรรมสุขภาพในครัวเรือนผ่านความเชื่อ
กิจกรรมการเรียนรู้ชุมชนโดยสะท้อนความต้องการ ในอำานาจสิ่งเหนือธรรมชาติและเคราะห์กรรม โดยใน
การเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้น ชุมชนจะมีกระบวนการรักษาความเจ็บป่วยโดยหมอ
บ้านล้านนาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้สูงอายุ ทั้งนี้ พื้นบ้านที่ชำานาญด้านพิธีกรรมและหมอสมุนไพรทำาให้
ในพื้นที่ศึกษายังมีการประกอบพิธีกรรมล้านนาที่ บริบทของชุมชนเอื้อต่อการสืบทอดภูมิปัญญาการ
เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน [11]
ทั้งส่วนบุคคลและในชุมชน ในส่วนของเนื้อหาใน ผู้สูงอายุมีความต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
กิจกรรมการเรียนรู้จะเป็นข้อมูลจากสภาพความ ล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระดับมาก โดย
เป็นจริงมาพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วน เฉพาะการสร้างเสริมสุขภาพจิต อาจเป็นไปได้ว่าระบบ
เกี่ยวข้องในพื้นที่อันจะส่งผลให้เนื้อหาของกิจกรรมมี การดูแลสุขภาพแผนปัจจุบันไม่สามารถตอบสนอง
ความสอดคล้องกับวิถีชีวิตและนำาสู่การปฏิบัติได้โดย ความต้องการการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิก
ง่าย ในครอบครัวได้อย่างเหมาะสม ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
4.3 การพัฒนาตำารับอาหารพื้นบ้าน โดย ด้านสุขภาพจึงเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพร่วมกับ
ดำาเนินการคัดเลือกตำารับอาหารพื้นบ้านที่ต้องการ การแพทย์แผนปัจจุบันภายใต้องค์ความรู้และความ
สร้างมูลค่าเพิ่ม โดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วน ต้องการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการสร้างเสริมสุข
ร่วมในการคัดเลือกตำารับอาหารให้มีความเหมาะสม ภาพระหว่างกัน เช่นเดียวกับผู้สูงอายุในเขตเทศบาล
และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง ตำาบลสุเทพเมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบายใจผู้สูงอายุจะ
รวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการสร้างกิจกรรม ได้กำาลังใจจากครอบครัวและคนใกล้ชิดโดยเฉพาะ
การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึง ผู้สูงอายุด้วยกันเอง เมื่อมีการพบปะกันตามสถาน
การวิเคราะห์การตลาดและปัจจัยการดำารงอยู่ของ ที่ต่าง ๆ เช่น การประชุมของชมรมผู้สูงอายุหรือการ
ผลิตภัณฑ์ เยี่ยมบ้านของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะคอยกระตุ้นให้ผู้
สูงอายุตรวจสุขภาพ และทำาจิตใจให้สบาย นอกจากนี้
อภิปร�ยผล ในพื้นที่มีชมรมผู้สูงอายุเป็นส่วนสำาคัญอย่างมาก
ผู้สูงอายุมีระดับความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญา ในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยเหลือซึ่งกัน
พื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ เฉลี่ยโดย และกันก่อเกิดความรู้สึกว่าผู้สูงอายุไม่อยู่โดดเดี่ยว
รวมระดับปานกลาง อาจเป็นไปได้ว่าโครงสร้างทาง ถ้าเกิดความเครียดผู้สูงอายุจะเข้าวัดฟังเทศน์หรือไม่
วัฒนธรรมล้านนาที่ยังคงถือปฏิบัติในชุมชนยังคง ก็สนทนาธรรมกับพระ ทั้งนี้แบบแผนภูมิปัญญาพื้น