Page 152 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 152

374 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           ด้านสังคมทั้งภาระหน้าที่และบทบาททางสังคมลด  จึงเป็นการผสมผสานระหว่างคนกับธรรมชาติ และคน
           น้อยลง ความยากลำาบากในการปรับตัว และการสูญ  กับสิ่งเหนือธรรมชาติ รูปแบบและแนวคิดเหล่านี้ได้

                            [3]
           เสียบุคคลอันเป็นที่รัก  ส่งผลให้ผู้สูงอายุไม่ให้ความ  มีพัฒนาการและอยู่ร่วมกับวิถีชีวิตของชาวล้านนามา
           สำาคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ   เป็นเวลาหลายร้อยปี ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาจึงถือ
           สังคมและจิตวิญญาณ ทำาให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญปัญหา  ได้ว่าเป็นระบบการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้านระบบหนึ่ง

           สุขภาพที่หลากหลาย และต้องพยายามแสวงหาสิ่งที่  ของสังคมไทยอันเป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมอย่าง
           ยึดเหนี่ยวจิตใจเพื่อช่วยในการเผชิญต่อสถานการณ์  หนึ่งของชาวล้านนา ซึ่งมีการผสมผสานเอาแนวความ
                        [4]
           ที่เปลี่ยนแปลงไป  ในส่วนผู้สูงอายุในองค์การบริหาร  เชื่อดั้งเดิมในเรื่องของ “ผี’’ “สิ่งศักดิ์สิทธิ์’’ และความ
           ส่วนตำาบลสะลวง ซึ่งยังคงดำารงชีวิตตามแบบแผน   สัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติและคนกับสิ่งเหนือ
           ล้านนาที่อาศัยร่วมกันในกลุ่มเครือญาติภายใน  ธรรมชาติ ผนวกกับแนวความเชื่อในด้านพิธีกรรม
           หมู่บ้านเดียวกัน ด้านปัญหาสุขภาพ พบว่า ในพื้นที่  ทางลัทธิพราหมณ์และพุทธศาสนาโดยมีความเชื่อว่า

           มีปัจจัยเสี่ยงด้านภาวะสุขภาวะชุมชนทั้งการใช้สาร  เหตุแห่งการเจ็บป่วยเกี่ยวข้องกับกรรม อีกทั้งความ
           เคมีการเกษตรที่เพิ่มสูงขึ้น โครงสร้างประชากรวัย  เชื่อที่ว่าคนประกอบขึ้นจากรูปกับนาม คือ กาย (ธาตุ)

           สูงอายุที่เพิ่มขึ้น การสูญเสียประเพณีและภูมิปัญญา  กับใจ (ขวัญ) อย่างสมดุลและสัมพันธ์กัน เมื่อมีเหตุที่
           พื้นบ้านที่เคยปฏิบัติมาในอดีต ปรากฏการณ์เหล่านี้  ทำาให้ธาตุหรือขวัญเสียสมดุล เช่น ขวัญตก ขวัญเสีย
           ส่งผลต่อการปฏิบัติกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ  หรือธาตุเสีย ธาตุพิการก็จะมีผลกระทบต่อสุขภาพได้

                     [5]
           ของผู้สูงอายุ                               ภูมิปัญญาเหล่านี้สามารถอธิบายได้อย่างเป็นระบบ
                จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่าผู้  เชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิถีชีวิต จิต วิญญาณ ที่มิได้แปลก

           สูงอายุได้เผชิญปัญหาทั้งทางสุขภาพกาย จิตใจ และ  แยกออกจากธรรมชาติ สิ่งเหนือธรรมชาติ รวมถึง
           สังคม การแสวงหาทางเลือกเพื่อการสร้างเสริมสุข  ความสัมพันธ์ของการก่อเกิดมนุษย์ [6]
           ภาพที่ตอบสนองและสอดคล้องกับบริบทชุมชนจึง        ดังนั้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา

           มีความสำาคัญอย่างยิ่ง ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพ  ระดับความรู้ ความต้องการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูง
           ตามแบบแผนภูมิปัญญาพื้นล้านนาจึงเป็นทางเลือก  อายุ และสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการสร้าง
           เพื่อการดูแลสุขภาพในวิถีชีวิตของชาวล้านนาที่ตั้งอยู่  เสริมสุขภาพด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา ทั้งนี้ การ

           บนฐานแห่งการอยู่รอดของมนุษย์ ทำาให้ผู้คนรู้จักการ  ศึกษานี้จะนำาไปสู่ข้อมูลที่หน่วยงานด้านสาธารณสุข
           เรียนรู้และปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง  ในพื้นที่สามารถนำาไปปรับประยุกต์ใช้เพื่อสร้างหรือ
           ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านสภาพ  พัฒนากิจกรรมทางเลือกเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ

           แวดล้อม สังคม วัฒนธรรม หรือเศรษฐกิจซึ่งการ  ของผู้สูงอายุต่อไป
           เรียนรู้ดังกล่าวเป็นจุดกำาเนิดของกระบวนการและ

           แบบแผนในการแก้ไขปัญหาเพื่อทำาให้ตนเองอยู่รอด            ระเบียบวิธีศึกษ�
           ได้อย่างมีสุขภาวะที่ดี ภายใต้บริบทของสังคมล้านนา      กระบวนการวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี
           แนวคิดและภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน  (mixed method) โดยการเก็บข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157