Page 153 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 153
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 375
และเชิงคุณภาพ กล่าวคือ เชิงปริมาณใช้การสำารวจ ลักษณะแบบสอบถามความรู้เป็นแบบเลือกตอบ ถูก
โดยใช้แบบสอบถาม เชิงคุณภาพใช้กระบวนการ ผิด ลักษณะแบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณ
อภิปรายกลุ่มและการสัมมนาเชิงปฏิบัติการแบบมี ค่า (rating scale) 2 ระดับ แบบสอบถามแต่ละ
ส่วนร่วม แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ข้อมีคะแนนตั้งแต่ 0-1 คะแนน การแปลผล ระดับ
ระยะที่ 1 การสำารวจระดับความรู้และความ ความรู้ดี คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 80-100 ระดับความรู้
ต้องการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้น ปานกลาง คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 60-79 และระดับ
่
บ้านล้านนา ใช้วิธีการศึกษาวิจัยแบบภาคตัดขวาง ณ ความรู้ตำา คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 60 แบบสอบถาม
เวลาใดเวลาหนึ่ง ตามขั้นตอน ดังนี้ มีค่าความเที่ยงจากการวิเคราะห์โดยวิธี KR ได้ค่า
21
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เชิงปริมาณ การ เฉลี่ยความเที่ยงเท่ากับ 0.81
[8]
คำานวณขนาดตัวอย่างใช้วิธีการคำานวณขนาดตัวอย่าง ส่วนที่ 3 แบบสอบถามระดับความต้องการ
[7]
จากตารางเลขสุ่มของ Krejcie & Morgan ได้ขนาด การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญา
กลุ่มตัวอย่าง จำานวน 269 ครัวเรือน จากประชากร พื้นบ้านล้านนา ลักษณะแบบสอบถามเป็นมาตราส่วน
[9]
จำานวน 873 ครัวเรือน และคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างใน ประมาณค่า (rating scale) 3 ระดับ การให้คะแนน
ระดับหมู่บ้าน ร้อยละ 30 โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย 1.00-3.00 คะแนน การแปลผล 1.00-1.67 หมาย
เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง จำานวน 12 คน ได้แก่ ถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
ตัวแทนผู้นำาชุมชน จำานวน 1 คน ตัวแทนพระสงฆ์ ล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระดับน้อย 1.68-
จำานวน 1 รูป ตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตำาบล 2.32 หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการใช้ภูมิปัญญา
สะลวง จำานวน 1 คน ตัวแทนประชาชนจำานวน 2 คน พื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระดับ
ตัวแทนผู้สูงอายุ จำานวน 6 คน และตัวแทนจากนัก ปานกลาง 2.33–3.00 หมายถึง ผู้สูงอายุมีความ
วิชาการ จำานวน 1 คน ต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้าง
เสริมสุขภาพในระดับระดับมาก ทั้งนี้แบบสอบถาม
เครื่องมือในก�รวิจัย ส่วนความต้องการมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.78 [10]
การศึกษาเชิงปริมาณ เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม
ประกอบด้วย ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของผู้สูงอายุ ความรู้
ของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ใช้ข้อมูลจากการ และความต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อ
ทบทวนวรรณกรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนำามา การสร้างเสริมสุขภาพ วิเคราะห์โดยสถิติเชิงพรรณนา
สร้างแบบสอบถาม (descriptive statistics)
ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การศึกษาเชิงคุณภาพ เครื่องมือเป็นแบบ
ผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาครอบคลุมการ บันทึกประเด็นในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับความรู้
สร้างเสริมสุขภาพกาย การสร้างเสริมสุขภาพจิต การ ความต้องการ และปัจจัยเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการ
ใช้สมุนไพรพื้นบ้าน และการบริโภคอาหารพื้นบ้าน สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้าน