Page 155 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 155

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  377




            ตารางที่ 1 ระดับความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (N = 269)

             ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา                   ร้อยละ                     ระดับความรู้
                                                                                       ่
             การสร้างเสริมสุขภาพกาย                    52.11                          ตำา
             การสร้างเสริมสุขภาพจิต                    92.74                          ดี
             การใช้สมุนไพรพื้นบ้าน                     72.36                       ปานกลาง
             การบริโภคอาหารพื้นบ้าน                    70.36                       ปานกลาง

             โดยรวมเฉลี่ย                              72.54                       ปานกลาง




            ตารางที่ 2 ระดับความต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (N = 269)

             ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา     ค่าเฉลี่ย    ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   ระดับความต้องการ
             การสร้างเสริมสุขภาพกาย       2.33                0.62                    มาก
             การสร้างเสริมสุขภาพจิต       2.81                0.72                    มาก
             การใช้สมุนไพรพื้นบ้าน        2.55                0.65                    มาก
             การบริโภคอาหารพื้นบ้าน       2.60                0.52                    มาก

             โดยรวมเฉลี่ย                 2.59                0.62                    มาก




            0.62) และ ดังตารางที่ 2                     มาให้ กิจกรรมบางกิจกรรมไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิต
                 การอภิปรายกลุ่มสรุปได้ว่า ภูมิปัญญาพื้นบ้าน  ของผู้สูงอายุ ภูมิปัญญาดั่งเดิมน่าจะเป็นทางเลือก

            ล้านนาทั้ง 4 ด้าน สามารถใช้ร่วมกับกระบวนการ  ที่เหมาะสมโดยเฉพาะตำารับอาหารพื้นบ้านที่จะต้อง
            การดูแลสุขภาพตามแบบแผนปัจจุบันได้  แต่ต้องใช้   อนุรักษ์และสืบทอดไว้ให้คงอยู่’’
            ความเชี่ยวชาญของหมอพื้นบ้าน ซึ่งในพื้นที่มีจำานวน      อีกท่านกล่าวว่า “ คนรุ่นใหม่ไม่สนใจองค์ความ

            ไม่มากนัก เนื่องจากขาดการสืบถอดจากลูกหลาน   รู้ด้านสุขภาพที่มีรากฐานจากประสบการณ์ของคนรุ่น
            รวมถึงผู้สูงอายุต้องการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง  ก่อน ไม่มีการสืบทอดองค์ความรู้ที่เป็นระบบถึงแม้

            องค์การบริหารส่วนตำาบลสะลวงและโรงพยาบาล     จะมีการบันทึกและกิจกรรมชุมชนที่เกี่ยวข้องก็ตาม
            ส่งเสริมสุขภาพตำาบลบ้านสะลวงนอกมีกิจกรรม    เสียดายองค์ความรู้เหล่านี้ที่จะต้องสูญหายไปพร้อม
            ที่สร้างเสริมแนวทางในการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน   กับคนรุ่นก่อน’’

            ล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพโดยเฉพาะด้านการ      ส่วนที่ 4 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการสร้าง
            สร้างเสริมสุขภาพกาย และสมุนไพรพื้นบ้านที่บางกิจกรรม   เสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้าน พบว่า
            สามารถสร้างรายได้ให้กับผู้สูงอายุได้ ซึ่งผู้สูงอายุ       4.1 การสร้างกระบวนการที่ก่อให้เกิดการ

            ท่านหนึ่ง กล่าวว่า “การสร้างเสริมสุขภาพในปัจจุบัน  ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้าน
            แนวทางส่วนใหญ่มาจากหน่วยงานภาครัฐที่กำาหนด  ล้านนาโดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ การอนุรักษ์และ
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160