Page 154 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 154
376 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
ล้านนา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เชื่อว่ายาสมุนไพรทำาให้หายจาก
เชิงเนื้อหา การเจ็บป่วยได้ ร้อยละ 59.50 ผู้สูงอายุเมื่อเจ็บป่วย
ระยะที่ 2 การสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิง ใช้บริการในศูนย์สาธารณสุขมูลฐานประจำาหมู่บ้าน
นโยบายเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วย ร้อยละ 97.0 การเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนเฉลี่ย 2.70
ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้าน ประกอบด้วย ± 1.31 ครั้งต่อเดือน ผู้สูงอายุเคยใช้ภูมิปัญญาพื้น
1. การจัดประชุมปรึกษาหารือโดยการสัมมนา บ้านล้านนาแก้ไขปัญหาความเจ็บป่วย ร้อยละ 73.2
เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยนำาเสนอข้อมูลที่ได้ โดยใช้ด้วยตนเอง ร้อยละ 45.0 และผู้สูงอายุเรียน
จากขั้นตอนที่ 1 รู้การรักษาความเจ็บป่วยมาจากญาติพี่น้อง ร้อยละ
2. ร่วมกันสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 94.80
เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้น ส่วนที่ 2 ระดับความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้น
บ้านล้านนา บ้านล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ พบว่า ผู้สูงอายุ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จำานวน 8 คน ได้แก่ มีระดับความรู้เฉลี่ยโดยรวมระดับปานกลาง (ร้อยละ
ตัวแทนผู้สูงอายุ จำานวน 4 คน ตัวแทนจากองค์กร 72.54) โดยมีระดับความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้าน
ปกครองส่วนท้องถิ่น จำานวน 1 คน ตัวแทนจากหน่วย ล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพจิตระดับดี (ร้อยละ
งานด้านสาธารณสุข จำานวน 2 คน และตัวแทนจากนัก 92.71) ระดับความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรพื้นบ้านระดับ
วิชาการ จำานวน 1 คน ปานกลาง (ร้อยละ 72.36) ระดับความรู้เกี่ยวกับ
เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบบันทึกการ การบริโภคอาหารพื้นบ้านระดับปานกลาง (ร้อยละ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 70.36) และระดับความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพื้นบ้าน
่
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพกาย ระดับตำา
(ร้อยละ 52.11) ดังตารางที่ 1
ผลก�รศึกษ� ส่วนที่ 3 ความต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุ พบว่า ล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ พบว่า ผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 52.40 ส่วนใหญ่มีความต้องการการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
อายุเฉลี่ย 69.2 ± 7.45 ปี มีการศึกษาระดับปฐม ล้านนาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระดับมาก (ค่า
ศึกษา ร้อยละ 65.40 ไม่ประกอบอาชีพ ร้อยละ เฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 2.59 ± 0.62) โดยมีความ
37.50 จำานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 2.88 ± ต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเพื่อสร้างเสริม
1.14 คน ระยะทางเฉลี่ยจากที่พักอาศัยไป สุขภาพจิต ระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.81 ± 0.72)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลบ้านสะลวงนอก ความต้องการบริโภคอาหารพื้นบ้านระดับมาก (ค่า
3.37 ± 3.88 กิโลเมตร การเข้ารับบริการด้านสุขภาพ เฉลี่ยเท่ากับ 2.60 ± 0.52) ความต้องการใช้สมุนไพร
ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลบ้านสะลวงนอก พื้นบ้านระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.55 ± 0.65) ความ
ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาเฉลี่ย 2.35 ± 0.90 ครั้ง ใน ต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาด้านการสร้าง
ปัจจุบันมีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ร้อยละ 55.40 เสริมสุขภาพกาย ระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.33 ±