Page 151 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 151
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 373
Elderly Persons’ Knowledge of and Needs for Health Promotion Based on
Lanna Local Wisdom under Saluang Subdistrict Administrative Organiza-
tion, Mae Rim District, Chiang Mai Province
Samart Jaitae , Nuttron Sukseetong, Jiraporn Junta, Chatsiri Vipawin
*
Department of Public Health, Faculty of Science and Technology, Chiang Mai Rajabhat University, Chiang Mai 50300,
Thailand
Corresponding author: samartcmru@gmail.com
*
Abstract
Lanna or northern local wisdom is an alternative for health promotion based on local beliefs and resources
of the communities. This descriptive research aimed to identify the knowledge of, and needs for, health promotion
for the elders, based on Lanna local wisdom, and to make policy recommendations on this matter. The study was
conducted in a sample of elderly persons in 269 households and 12 stakeholders who lived in the area of Saluang
Subdistrict Administrative Organization, Mae Rim District, Chiang Mai province. Data were collected using a
questionnaire and focus group discussions, and then analyzed with descriptive statistics, simple linear regression
analysis and content analysis. The results indicated that, among all elderly participants, their mean knowledge score
on local wisdom for health promotion was at a good level (85.41%) and their needs for Lanna local wisdom for
health promotion were at a high level (x = 2.42 ± 0.62). And the stakeholders suggested that there should be poli-
cies on (1) creation of knowledge transfer process, (2) empowerment of communities through learning activities,
and (3) development of indigenous food recipes.
Key words: knowledge, needs, policy recommendation, Lanna local wisdom, elderly persons
บทนำ�และวัตถุประสงค์ กับผู้สูงอายุด้วยกันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จำานวนผู้สูง
ผู้สูงอายุในประเทศไทยหนึ่งในสามมีรายได้ตำา ่ อายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงมีประมาณ 4 แสนคน และผู้
กว่าเส้นความยากจน ผู้สูงอายุที่อยู่ในครัวเรือนที่มี สูงอายุที่เป็นโรคสมองเสื่อมมีประมาณ 6 แสนคน ใน
ฐานะยากจนมีภาวะเสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิต ปี พ.ศ. 2559 และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นอีกมาก
สูงกว่าผู้ที่อยู่ในครัวเรือนที่มีฐานะดีเกือบ 2 เท่าซึ่ง ทั้งนี้การที่ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นขณะที่อัตราการ
อาจเนื่องมาจากค่าใช้จ่ายเป็นตัวแปรที่สามารถสะท้อน เกิดทดแทนลดลงทำาให้สัดส่วนของผู้ที่อยู่ในวัยพึ่ง
ให้เห็นความสามารถในการตอบสนองความต้องการ พิงวัยทำางานเพิ่มสูงขึ้นเป็นผลให้ประชาชนที่อยู่ในวัย
ได้ ถ้าหากไม่มีเงินมากพอหรือมีปัญหาด้านการเงิน ทำางานต้องทำางานมากขึ้นเพื่อปันผลหาเลี้ยงประชากร
จะทำาให้เกิดความเครียด วิตกกังวล และกลายเป็น วัยพึ่งพิง คาดว่าในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2573 จะมี
ปัญหาสุขภาพจิตในที่สุด บุตรหลานซึ่งเคยเป็นแหล่ง ผู้สูงอายุ (ที่ไม่ได้ทำางาน) ต่อประชากรวัยทำางานใน
[1]
รายได้สำาคัญของผู้สูงอายุมีสัดส่วนลดลง ตรงข้ามกับ สัดส่วน 1:4 คน รูปแบบการดำาเนินชีวิตสมัยใหม่ยัง
[2]
จำานวนผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำาพังคนเดียวหรือตามลำาพัง เป็นปัจจัยที่ทำาให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับเปลี่ยนแปลง