Page 157 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 157

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  379




            บ้านล้านนาด้านสุขภาพ บทบาทของชมรมผู้สูงอายุ  การใช้ประโยชน์และเผยแพร่องค์ความรู้ ในส่วน
            และกิจกรรมของอาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนสำาคัญ  ของข้อเสนอเชิงนโยบายการนำาสู่การปฏิบัติต้องสร้าง

            ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ [4] [12]   กระบวนการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง
                 ในส่วนของข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการ
            สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้าน
                                                                       References
            ล้านนาเป็นการสะท้อนแนวทางการสร้างเสริมสุข
                                                          1.  The Royal Bank of Scotland Group. Money and Mental
            ภาพที่มีการปฏิบัติภายใต้ข้อกำาหนด กฎเกณฑ์ กติกา  Health. London: Nation Association for Mental Health;
            ชุมชนที่ถูกสั่งสมและถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นก่อให้เกิด  2011. 241 p.
                                                          2.  Srisaphonphusitti L, Srisaphonphusit T. Adaptation
            กระบวนการเรียนรู้ที่ผสมผสานกระบวนการสู่แนวทาง   for the aging society in Thailand. Journal of Humani-
            การปฏิบัติเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของชุมชน  ties and Social Science Surin Rajabhat University.
                                                            2016;20(1):253–65. (in Thai)
            ได้อย่างเหมาะสม แต่อย่างไรก็ตามสถานการณ์การ    3.  Sarmento E, Rego A, Monteiro MJ. Social determinants
            พัฒนาชุมชนด้านการท่องเที่ยวได้นำารูปแบบการดำารง  of health in the elderly and bioethics. Int. J. of Adv. Res.
            ชีวิตของประชาชนสู่การแข่งขันด้านการแสวงหาราย    2016;4(12):354-65.
                                                          4.  Jumkead D, Kaewdang K, Natirat S, Pimsuwan S, Tacha
            ได้ให้เพียงพอต่อการดำารงชีวิตประจำาวัน รวมถึงนำา  S, Kamcharean M, Pubpartong P.A develop model to
            รูปแบบการดำารงชีวิตตามสังคมเมืองมาสู่ชุมชนอัน   elderly health promotion on Suthep Municipality Muang
                                                            Chiang Mai District, Chiangmai Province. Bangkok: The
            ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมและ      Thailand Research Fund; 2011. 57 p. (in Thai)

            ความเสี่ยงสุขภาพของผู้สูงอายุและการสูญหายของ    5.  Saluang Health Promotion Hospital. Community Health
                                                            Data. Chiang Mai: Mimeographed; 2014. (in Thai)
            ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา                       6.  Jaitae S. The Lanna health cultural for health care.
                                                            Thammasat Medical Journal. 2018;18(2):240–8. (in Thai)
                             ข้อสรุป                      7.  Krejcie RV, Morgan DW. Determining sample size for
                                                            research activities. Educational and Psychological
                 ความรู้ และความต้องการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน   Measurement. 1970;30:607–10.
                                                          8.  Ebel RL, Frisbie DA. Essentials of educational measure-
            ล้านนาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุได้สะท้อนมุมมอง
                                                            ment. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall; 1991.
            การแสวงหาทางเลือกในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง       338 p.
            หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำาคัญกับการ    9.  Balasubramanian N. Likert technique of attitude scale
                                                            construction in nursing research. Asian J. Nursing Edu.
            เสริมสร้างองค์ความรู้และแนวทางการปฏิบัติที่ถูก  and Research 2012;2(2):65-9
            ต้องโดยเฉพาะการใช้สมุนไพรพื้นบ้านที่บางส่วน    10.  Cronbach LJ. Coefficient alpha and the internal structure
                                                            of tests. Psychometrika. 1951;16:297–334.
            ยังใช้ไม่เหมาะสม รวมถึงสร้างกิจกรรมที่ให้ผู้สูง    11.  Apikomolkorn Y. Traditional postpartum care in North-

            อายุมีโอกาสแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน เช่น   ern Thailand: A case study from Bann Hua Suea, Tam-
                                                            bon Hua Suea, Mae Tha District, Lampang Province.
            การนำารูปแบบพิธีกรรมพื้นบ้านล้านนาอันเป็นการ    Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine,

            สร้างเสริมสุขภาพจิตบูรณาการร่วมกับกิจกรรมทาง    2008;6(2):148-57. (in Thai)
                                                          12.  Jaitae A. Relationship among self-care behaviors of the
            พุทธศาสนาในโอกาสวันสำาคัญ การพัฒนาฐานข้อมูล     elderly in urban areas regarding their mental health.
            สมุนไพรพื้นบ้านและตำารับอาหารพื้นบ้านเพื่อให้เกิด  Bulletin of Suanprung. 2015;31(1):38-48. (in Thai)
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162