Page 148 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 148

370 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           และ 90.7 ตามลําดับ ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในครั้ง  สารเคมีที่เป็นอันตรายได้ ซึ่งสอดคล้องกับกระแส
           นี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการประชาสัมพันธ์  รักสุขภาพที่กําลังได้รับความนิยมในปัจจุบันและให้

           ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร   ความสําคัญต่อความปลอดภัยในการนําสารสกัดจาก
           อันจะนํามาสู่ความปลอดภัยด้านสุขภาพของประชาชน  สมุนไพรที่เป็นเกษตรอินทรีย์มาผสมในผลิตภัณฑ์
                                                       และข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้งต่อไปควรมี
                           ข้อสรุป                     การศึกษากระบวนการและวัตถุดิบที่ใช้เพื่อสามารถ

                การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านใน   บูรณาการให้เข้ากับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวม
           7 จังหวัด 7 ผลิตภัณฑ์นั้นเป็นไปตามกระบวนการ  ทั้งศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในมุมมองที่แตกต่าง

           มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน สํานักงานมาตรฐาน      ออกไป
           ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
           (2559) ประกอบด้วย จังหวัดพิษณุโลก พัฒนาผลิต-           กิตติกรรมประก�ศ

           ภัณฑ์เจลล้างหน้าถ่านซังข้าวโพด, จังหวัดสุโขทัย      ขอขอบคุณชุมชนทั้ง 7 จังหวัดและผู้ให้ข้อมูล
           พัฒนาผลิตภัณฑ์ ครีมหมักผมจากเมล็ดสําโรง,    คนสําคัญทุกท่านในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา

           จังหวัดกําแพงเพชร พัฒนาผลิตภัณฑ์เซรั่มบํารุงผิว  ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ ซึ่ง
           หน้าจากว่านกาบหอยกลิ่นมิ้นต์, จังหวัดพิจิตร พัฒนา  ผลที่ได้เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
           ผลิตภัณฑ์ครีมพอกผิวกายจากแป้งกล้วย, จังหวัด  ใน 7 จังหวัด 7 ผลิตภัณฑ์ในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อ

           อุตรดิตถ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมอัดแท่งจากข้าวกล้อง  ใช้ในการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของ
           ไรซ์เบอรี่โค้งสําเภา, จังหวัดตาก พัฒนาผลิตภัณฑ์เจล  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล  ขอขอบคุณ

           กระชับหน้าอกจากถั่วมะแฮะ และจังหวัดเพชรบูรณ์   สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสวนดุสิตและ
                                      ้
           พัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมนวดตัวจากนําแร่ การวิจัยนี้จึง  สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ทุน
           เป็นการนําเอาทรัพยากรและสมุนไพรในท้องถิ่นซึ่ง  อุดหนุนการวิจัยครั้งนี้

           เป็นภูมิปัญญาและทรัพยากรที่เป็นเอกลักษณ์ สะท้อน
           วัฒนธรรม รวมถึงเป็นรากฐานเกษตรกรรมที่มีคุณค่า             References
           ของประเทศไทย ทั้งนี้ทรัพยากรและสมุนไพรใน      1.  Ministry of Public Health. National reproductive health
                                                           development policy and strategy No.1 (2010-2014).
           ท้องถิ่นเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตและสังคมไทยมาโดย  Nonthaburi: The War Veterans Organization of Thailand;
           ตลอด ดังจะเห็นได้จากการนําสมุนไพรมาประกอบ       2010. (in Thai)
                                                         2.  Jaisa-ard R, Kanjanarach T. Needs for competency im-
           ในอาหารคาว หวาน เป็นยารักษาโรค ใช้ในการบําบัด   provement in pharmacy service at a primary care level.

           ดูแลและฟื้นฟูสุขภาพหรือแม้กระทั่งใช้เพื่อการเสริม  Isan Journal of Pharmaceutical Sciences. 2014;10:69-79.
                                                           (in Thai)
           ความงาม ภูมิปัญญาไทยที่ได้รับการสั่งสม สืบทอด    3.  Petchang R, Kamonkunanon S, Tongsiri S, Boonsung

           และพัฒนามาอย่างยาวนาน โดยมีข้อเสนอแนะใน         A. Herb business management for boosting the local
                                                           occupation in Uttaradit province. Area Based Develop-
           การนําผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญา  ment Research Journal. 2016;8(1):62-77. (in Thai)
           พื้นบ้านส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้ที่ต้องการลดการใช้    4.  Kiawan Y. Principles of research and thesis. Bangkok:
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153