Page 146 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 146
368 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
[5]
ผลิตภัณฑ์และรูปแบบของผลิตภัณฑ์มีความสวยงาม กล่าวสอดคล้องกับ ประเภทของผลิตภัณฑ์ใหม่แบ่ง
ออกเป็น 6 ประเภท คือ 1) ผลิตภัณฑ์ใหม่ของโลก
อภิปร�ยผล 2) สายผลิตภัณฑ์ใหม่ 3) การเพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าไป
จากการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในสายผลิตภัณฑ์เดิม 4) การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง
ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์ ผลิตภัณฑ์เดิม 5) การปรับเปลี่ยนตําแหน่งผลิตภัณฑ์
แผนไทยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลในเขต 6) การลดต้นทุน และยังสอดคล้องกับ การพัฒนา
[6]
ภาคเหนือตอนล่าง ได้ข้อสรุปที่มีประเด็นที่สําคัญ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์บาล์มว่านร้อยแปดตามกระบวนการ
1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านใน 7 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
จังหวัด 7 ผลิตภัณฑ์นั้น ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางจาก โดยใช้ทฤษฎีการออกแบบความคิด (design think-
ธรรมชาติและสมุนไพรยังมีแนวโน้มที่ดี โดยเฉพาะ ing) และเพื่อศึกษาความคงสภาพทางกายภาพของ
ผลิตภัณฑ์เครื่องสําอางจากธรรมชาติและสมุนไพรแต่ ผลิตภัณฑ์บาล์มว่านร้อยแปด วิธีการทดลองจะ
ผลิตภัณฑ์ที่จะยังเติบโตต่อไปได้นั้นมีเงื่อนไขว่าราคา ศึกษากระบวนการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนและ
จะต้องอยู่ในเกณฑ์ที่ผู้บริโภคยอมรับได้และผู้บริโภค พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ
มีความเชื่อถือในมาตรฐานการผลิตและคุณภาพของ มีศึกษาความต้องการโดยการสังเกตพูดคุยเบื้อง
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร กระแสการบริโภคผลิตภัณฑ์ ต้น เข้าถึงความต้องการที่แท้จริงโดยการสัมภาษณ์
ธรรมชาติจากสมุนไพรที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เชิงลึกพูดคุยถึงปัญหาที่แท้จริง ออกแบบผลิตภัณฑ์
เนื่อง ส่งผลให้ผู้บริโภคจํานวนมากได้หันมานิยมใช้ ผลิตภัณฑ์และสถานที่ผลิต สร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ยาจากสมุนไพรทดแทนการใช้ยาจากการสังเคราะห์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ 8 ตํารับและคัดเลือกผลิตภัณฑ์
ทางเคมีที่อาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงต่อร่างกายได้ ดัง โดยระดมสมอง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่ม จึง
นั้น ข้อได้เปรียบต่าง ๆ เหล่านี้นํามาใช้เป็นพื้นฐาน ได้มา 3 สูตร การศึกษาความคงสภาพทางกายภาพ
ในการผลักดันธุรกิจนวัตกรรมสมุนไพรของประเทศ ของผลิตภัณฑ์เป็นการทดสอบการกระจายบนผิว การ
หนึ่งในแนวทางการพัฒนานวัตกรรมสมุนไพรให้มี แยกชั้น ความมัน ความหนืด กลิ่นและสีที่อุณหภูมิ
ประสิทธิภาพนั้น คือ การทํานวัตกรรมจากธรรมชาติ ห้องอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิ 45 องศา
และสมุนไพรซึ่งเป็นการนําองค์ความรู้จากการแพทย์ เซลเซียส เป็นเวลา 1 เดือน และทดสอบในสภาวะร้อน-
แผนไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาของประเทศมาพัฒนาร่วม เย็น จํานวน 6 รอบ จากการทดลองพบว่า สูตร 6 และ
กับการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การควบคุม สูตร 7 เมื่ออยู่ที่อุณหภูมิที่ร้อนจะมีสีอ่อนลง เนื่องจาก
มาตรฐานให้สามารถผลิตได้ตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสีผลิตภัณฑ์
แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมทรัพยากร และเมืองไทยเป็นประเทศที่มีภูมิอากาศร้อนเป็นส่วน
ตามธรรมชาติและสมุนไพรจะต้องมุ่งเน้นการควบคุม ใหญ่จะมีผลโดยตรงต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์จึงจําเป็น
คุณภาพ ตลอดทั้งระบบตั้งแต่การคัดเลือกสายพันธุ์ ที่ต้องควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์และสูตร 8 เป็น
สมุนไพร การปลูก การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาวัตถุดิบ สูตรที่ทดสอบความคงสภาพไม่มีการเปลี่ยนแปลง
เพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ผลการวิจัยดัง 2. ผลการวิเคราะห์ความต้องการเกี่ยวกับ