Page 92 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 92
442 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
2. ฤทธิ์ต้�นมะเร็ง 3. ฤทธิ์ต้�นเชื้อร�
ในการศึกษาฤทธิ์ต้านมะเร็งของสารสกัด ผลการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อราของสารสกัด
ยางนาในส่วนต่าง ๆ โดยใช้เซลล์มะเร็งที่เพาะเลี้ยง ยางนา แสดงให้เห็นว่าสารสกัด มีประสิทธิภาพที่แตก
ในหลอดทดลอง พบว่าสารสกัดยางนาในทุก ๆ ส่วน ต่างกันในการต้านเชื้อราก่อโรคกลากที่นำามาทดสอบทั้ง
ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ที่ไม่ใช่เซลล์มะเร็ง (Vero) 4 ชนิดนี้ ซึ่งได้แก่ T. mentagrophytes, T. rubrum,
เมื่อพิจารณาผลการยับยั้งเซลล์มะเร็งที่เพาะเลี้ยง M. gypseum และ E. floccosum ดังแสดงในตาราง
ในหลอดทดลอง พบว่าสารสกัดใบยางนามีความ ที่ 3 โดยที่สารสกัดจากส่วนใบ และเปลือกที่ความเข้ม
่
เป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งตับ (HepG2) ตำามาก เพราะ ข้น 200 µg/ml ซึ่งเป็นความเข้มข้นสูงที่สุดที่ใช้ในการ
มีค่าความเข้มข้นที่ใช้ยับยั้งการเติบโตของ HepG2 ทดสอบ สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อรา T. men-
ที่ 50% (IC ) ด้วยค่าที่สูง และสารสกัดทั้งสามส่วน tagrophytes ได้ ส่วนกิ่งไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อราดังกล่าว
50
มีฤทธิ์ปานกลางในการยับยั้งเซลล์มะเร็งปากมดลูก และผลการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อราก่อรังแคพบว่า สาร
แต่มีฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็งเม็ดเลือด (Jurkat) ได้ สกัดยางนาต่าง ๆ ไม่มีประสิทธิภาพในการต้านเชื้อรา
ดีที่สุดเมื่อเทียบระหว่างเซลล์เพาะเลี้ยงชนิดต่าง ๆ ก่อรังแคที่นำามาทดสอบ ดังแสดงในตารางที่ 3 โดยสาร
ที่นำามาทดสอบ (ตารางที่ 2) โดยสารสกัดจากกิ่ง สกัดที่ความเข้มข้น 200 µg/ml ซึ่งเป็นความเข้มข้นสูง
ยางนามีฤทธิ์ดีที่สุดเพราะสามารถยับยั้งเซลล์มะเร็ง ที่สุดที่ใช้ในการทดสอบไม่สามารถยับยั้งการเจริญของ
เม็ดเลือดได้อย่างจำาเพาะเหนือกว่าเซลล์ Vero โดย เชื้อรา M. furfur ได้ แต่อย่างไรก็ตามกลุ่มควบคุม
พบว่ามีค่า Selective index (SI) มากกว่า cisplatin เชิงบวกทั้งสองกลุ่มสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อรา
ซึ่งฤทธิ์รองลงมาได้แก่สารสกัดใบและเปลือกยางนา ทุกสายพันธุ์ได้ รวมไปถึงกลุ่มควบคุมเชิงลบและ
ตามลำาดับ แต่อย่างไรก็ตามสารสกัดทุก ๆ ส่วนยัง กลุ่มตัวทำาละลายยังพบการเจริญของเชื้อทดสอบตาม
่
คงมีฤทธิ์ต้านมะเร็งตำากว่า cisplatin ในทุก ๆ เซลล์ ปกติ
มะเร็งที่ใช้ทดสอบ
ตารางที่ 2 ฤทธิ์ต้านมะเร็งของสารสกัดใบ เปลือก กิ่ง ยางนาต่อเซลล์ไลน์มะเร็งชนิดต่าง ๆ
IC (µg/ml)
สารทดสอบ 50
Vero HepG2 (SI) HeLa (SI) Jurkat (SI)
b
b
c
ใบ > 500 b 421.0 ± 8.0 (1.2) 280.3 ± 22.6 (1.8) 29.0 ± 4.8 (17.2)
b
c
c
เปลือก > 500 b > 500 (1.0) 169.9 ± 26.7 (2.9) 44.7 ± 6.3 (11.2)
b
กิ่ง > 500 b > 500 (1.0) 186.1 ± 13.7 (2.7) 16.5 ± 0.6 (30.3)
c
a
a
a
a
Cisplatin 92.3 ± 3.6 77.7 ± 6.9 (1.2) 13.3 ± 0.3 (6.9) 6.1 ± 0.8 (15.1)
a
หมายเหตุ: a, b, c หมายถึงมีความแตกต่างกันตามสถิติอย่างมีนัยสำาคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยเปรียบเทียบค่า IC 50
ระหว่างสารสกัดและ cisplatin ในเซลล์ไลน์เดียวกัน