Page 91 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 91

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  441




            ของเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อ 5%v/v นำาไปผสมกับสาร  ไหล 0.8 ml/min อุณหภูมิคอลัมน์ 40 C และฉีดสาร
                                                                                    °
            สกัดยางนาที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน 5 ความเข้มข้น  ตัวอย่างปริมาตร 20 µl โดยใช้ UV-diode array de-

            ในอัตราส่วนที่เท่ากัน แล้วนำาไปบ่มที่อุณหภูมิ 28  C   tector ที่ความยาวคลื่น 280 nm (hydroxybenzoic
                                                  °
            เป็นเวลา 7 วันสำาหรับการทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อรา   acids) และ 320 nm (hydroxycinnamic acids) ซึ่ง
            T. mentagrophytes และ บ่มเป็นเวลา 5 วันสำาหรับ  HPLC chromatogram ของสารตัวอย่างจะถูกเปรียบ

            การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อรา T. rubrum, M. gypseum   เทียบกับสารมาตรฐานฟีนอลิกที่เวลาเดียวกัน [20]
            และ E. floccosum และเป็นเวลา 2 วันสำาหรับการ
            ทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อรา M. furfur แล้วสังเกตการ  5. ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูลท�งสถิติ
                                              ่
            เจริญของเชื้อราด้วยตาเปล่า ความเข้มข้นที่ตำาที่สุดที่     ข้อมูลต่าง ๆ จะถูกแสดงในรูปแบบของ ค่า
            ไม่มีการเจริญของเชื้อราจะเป็นค่า MIC และใช้อาหาร  เฉลี่ย ± ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย
            เลี้ยงเชื้อเป็นกลุ่มควบคุมเชิงลบ (negative control)   จะใช้ one-way ANOVA และวิเคราะห์ความแตก

            1% DMSO ในอาหารเลี้ยงเชื้อเป็นกลุ่มตัวทำาละลาย  ต่างด้วยวิธี Tukey’s HSD (Honestly Significant
            ควบคุม (solvent control) และใช้ clotrimazole   Difference) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (p < 0.05)

            และ ketoconazole เป็นกลุ่มควบคุมเชิงบวก (posi-  ด้วยโปรแกรม SPSS 19.0
            tive control)
                       [19]
                                                                      ผลก�รศึกษ�
            4. ก�รวิเคร�ะห์ส�รประกอบฟีนอลิกด้วยเทคนิค
            HPLC                                        1. ก�รเตรียมส�รสกัดย�งน�


                 การวิเคราะห์สารประกอบฟีนอลิกด้วย HPLC       ในการเตรียมสารสกัดยางนาโดยนำาตัวอย่าง
            (1100 Series, Agilent) ด้วย column ขนาด 5 µm   ยางนาในแต่ละส่วนมาแช่สกัดด้วยเมทานอลเป็นเวลา
            particle size, 250 x 4.6 mm (HiQsil, Tokyo, Ja-  24 ชั่วโมง พบว่าใบยางนาได้ปริมาณของสารสกัด

            pan) โดยใช้ mobile phase ที่เป็นส่วนผสมระหว่าง   สูงสุดโดยพบร้อยละของผลได้ 11.8 รองลงมาคือสาร
                                  ้
            1% acetic acid (v/v) ในนำาปราศจากไอออน (sol-  สกัดจากกิ่งและเปลือกตามลำาดับ (ตารางที่ 1)
            vent A) และ acetonitrile (solvent B) ซึ่งใช้ระบบ

            gradient program เริ่มจาก 0-5 นาที, 5% solvent B;   ตารางที่ 1 ปริมาณสารสกัดของยางนาในส่วน
            จาก 5-15 นาที, 9% solvent B; จาก 15-22 นาที, 11%      ต่าง ๆ
            solvent B; จาก 22-38 นาที, 18% solvent B; จาก     ส่วน   น�้าหนัก   น�้าหนัก   ร้อยละ

            38-43 นาที, 23% solvent B; จาก 43-44 นาที, 90%     ของ   ตัวอย่างแห้ง  สารสกัดที่ได้  ของผลผลิต
            solvent B; จาก 44-45 นาที, 80% solvent B; จาก    ยางนา   (g)       (g)       (%)

            45-55 นาที, isocratic ที่ 80% solvent B; จาก 55-  ใบ   1,300      153.5       11.8
            65 นาที, re-equilibration ที่ 5% solvent B; linear   เปลือก   700   29.7       4.2
            gradient จาก 65-70 นาที, 5% solvent B ที่อัตราการ  กิ่ง   1,900   115.4        6.1
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96