Page 174 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 174
524 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
เขตสุขภาพที่ 4 ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดนนทบุรี ที่ใช้บริการแพทย์แผนไทยคือกลุ่มอาการปวดเมื่อย
ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี กล้ามเนื้อ ทำาให้การสั่งใช้ยาในกลุ่มอาการปวดกล้าม
นครนายก พบว่ามูลค่าการสั่งใช้ยาจากสมุนไพร ของ เนื้อมีมากกว่าการสั่งใช้ยาในกลุ่มอื่น
สถานพยาบาลในจังหวัดสระบุรี มีมูลค่าการสั่งใช้ยา ยาจากสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติมี
จากสมุนไพรมากเป็นอันดับ ที่ 2 ใน 8 จังหวัด (0.71, ความครอบคลุมและสามารถรักษาโรคทั่วไปได้ การ
0.91, 1.24, 3.16, 0.79, 1.57, 0.03) ตามลำาดับ วิจัยพบว่า มีการรายงานถึงการรักษาพยาบาลด้วย
ยาจากสมุนไพรที่มีการสั่งใช้มากที่สุดคือ ยา แพทย์แผนไทย อาการและยาที่สั่งใช้มีความจำากัด
ฟ้าทะลายโจร (ร้อยละ 13.40 ของจำานวนครั้งที่สั่งยา เฉพาะบางโรคและบางอาการ
้
สมุนไพร) ตามด้วยยาขมิ้นชัน ยานำาแก้ไอมะขามป้อม งานวิจัยครั้งนี้ ค้นพบข้อสังเกตว่า ผู้สั่งใช้ยามี
ยาอมมะแว้ง และยาเถาวัลย์เปรียง (ร้อยละ 11.18, การสั่งใช้ยาจากสมุนไพร เป็นไปตามนโยบาย และ
10.14, 9.23, 9.11 ตามลำาดับ) สอดคล้องกับนโยบาย สอดคล้องกับยาที่ได้รับการสนับสนุน ทั้งนี้ผู้สั่งใช้
สนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพร ในหน่วยบริการสังกัด ยาไม่มีข้อมูลที่เพียงพอ ไม่รู้จักขนาดยา สรรพคุณ
กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแสดงให้เห็นว่า แม้จะมี ยา อีกทั้งราคายาจากสมุนไพรค่อนข้างสูง การที่ผู้สั่ง
[8]
รายการยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติเป็น ใช้ยาไม่มีข้อมูลเพียงพอ คือไม่รู้จักชนิดของยา ชื่อ
จำานวนมากถึง 50 รายการ แต่การสั่งใช้ยาจากสมุนไพร ยา สรรพคุณของยา ตัวยาส่วนประกอบ ข้อบ่งใช้
ของสถานพยาบาลนั้นเน้นสั่งยาเพียงบางรายการเพื่อ และข้อห้ามใช้-ข้อควรระวัง ยาจากสมุนไพรทดแทน
บำาบัดรักษาเพียงบางโรคหรือบางกลุ่มอาการเท่านั้น ยาแผนปัจจุบัน และการที่ผู้สั่งใช้ยายังไม่เชื่อมั่นใน
ได้แก่ ยาที่ใช้รักษาในกลุ่มโรคติดเชื้อระบบทางเดิน คุณภาพของผลิตภัณฑ์และมาตรฐานการผลิตข้อ
หายใจ ซึ่งหนึ่งในมาตรการสำาคัญ คือ มาตรการใช้ ค้นพบนี้สอดคล้องกับงานวิจัยที่ผ่านมา ประเมินการ
สมุนไพรทดแทนเป็นลำาดับแรก ได้แก่ ยาฟ้าทะลายโจร ใช้ยาสมุนไพรและยาแผนไทยของสถานพยาบาล
จากการศึกษาพบว่า แนวโน้มการสั่งใช้ยาฟ้าทะลาย- ศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริม และเป็นอุปสรรคต่อการใช้ยา
โจรมีอัตราสูงขึ้น และอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในกลุ่ม สมุนไพร
[9]
โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน และกลุ่ม
โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันลดลง ส่งผลให้การใช้ยา ข้อสรุป
ปฏิชีวนะไม่สมเหตุผลลดลง, ยาที่ใช้รักษาโรคใน การส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพร ถือเป็น
กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อและกระดูก ทั้งนี้ มาตรการสำาคัญมาตรการหนึ่ง ที่จะสร้างความมั่นคง
เนื่องจากผู้ป่วยจำานวนมากมีอาการปวดเมื่อยกล้าม ให้กับระบบบริการสุขภาพของประเทศ เป็นการสร้าง
เนื้อจากการทำางานเนื่องจากประชาชนประกอบอาชีพ รายได้ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรได้ในอนาคต
ทางการเกษตร ซึ่งอาการเหล่านี้มักมีสาเหตุไม่ซับซ้อน มาตรการส่วนใหญ่ที่หน่วยงานระดับนโยบายกำาหนด
แต่พบได้บ่อย การรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยการ ขึ้นเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพรใน
แพทย์แผนไทยได้แก่ นวด อบ ประคบ และรักษาด้วย สถานพยาบาลมักเป็นมาตรการบริหารจัดการและการ
ยาสมุนไพร ซึ่งให้ผลการรักษาดีทำาให้ผู้ป่วยกลุ่มหลัก สนับสนุนด้านยา ได้แก่ การกำาหนดกรอบรายการยา