Page 157 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 157
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 507
แพทย์ทางเลือกมาใช้ในการดูแลผู้ป่วย [10] ค้นดังต่อไปนี้ ความดันโลหิต, การแพทย์ทางเลือก,
วิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทางเลือกต่อระดับ การแพทย์เสริม, blood pressure, alternative
ความดันโลหิตทั่วโลกได้รับความสนใจเป็นที่ medicine, complementary medicine, reduce
นิยม และมีการใช้วิธีที่หลากหลายมากขึ้น ทั้งใน blood pressure, decrease blood pressure
สหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชียรวมถึงประเทศไทย
ซึ่งแต่ละวิธีก็ได้มีการนำาเข้าสู่กระบวนการวิจัยก่อน นิย�มศัพท์
นำามาประกอบผลของความน่าเชื่อถือจนเป็นที่ยอมรับ การแพทย์ทางเลือก หมายถึง ศาสตร์ที่นอก
ในการรักษา การพัฒนาทบทวนและต่อยอดงานวิจัย เหนือจากการแพทย์แผนปัจจุบันโดยมุ่งเน้นการดูแล
จึงเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญอย่างยิ่งในการนำาไปสู่การ สุขภาพทางการแพทย์ได้ทั้งด้านการวินิจฉัย รักษา
ดูแลรักษาที่น่าเชื่อถือและปลอดภัยก่อนนำาไปสู่การ และป้องกันโรค เทคนิคการรักษาส่วนใหญ่ไม่กระทำา
ปฏิบัติจริง ซึ่งปัจจุบันการแพทย์ทางเลือกเป็นอีก รุนแรงต่อร่างกายหรือไม่ใช้เภสัชภัณฑ์ที่มีสารเคมี [6]
1 ใน 8 ของด้านสุขภาพระดับโลกที่ประเทศไทยได้ ซึ่งรูปแบบการนำาไปใช้แบ่งดังนี้ (1) วิธีปฏิบัติด้วยการ
มีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายสุขภาพโลก พ.ศ. แพทย์เสริม (complementary medicine, CM)
[11]
2559-2563 ดังนั้นเพื่อให้เกิดความชัดเจนในงาน เป็นการนำาไปใช้ร่วมหรือเสริมกับการแพทย์ปัจจุบัน
วิจัยจึงทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติด้วย (2) การแพทย์ทางเลือกแบบอย่างเดียวหรือแบบใช้
การแพทย์ทางเลือกในรูปแบบต่าง ๆ ต่อระดับความ ตามลำาพัง (alternative medicine, AM) [7]
ดันโลหิตเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการดูแล
สุขภาพของผู้ที่มีระดับความดันโลหิตสูงต่อไปดังคำา เกณฑ์ก�รคัดเลือกง�นวิจัย
ที่กล่าวไว้ว่าหัวใจหลักของการพัฒนาการแพทย์ทาง เกณฑ์ในการคัดเข้า (inclusion criteria) ได้
[14]
เลือก ถือเป็นศาสตร์แห่ง “การดูแลสุขภาพที่น่าเชื่อ คัดเลือกตามหลักการ 5 องค์ประกอบ PICOS ราย
[12]
ถือ มีความปลอดภัย และได้รับการยอมรับ’’ ซึ่งมี ละเอียด ดังตารางที่ 1 และกำาหนดเกณฑ์คัดออก (ex-
วัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรมวิธีปฏิบัติด้วย clusion criteria) คือ งานวิจัยที่ไม่ได้ตีพิมพ์เป็นภาษา
การแพทย์ทางเลือกต่อระดับความดันโลหิต ไทยและภาษาอังกฤษและเป็นงานวิจัยที่ไม่สามารถหา
รายงานการวิจัยฉบับเต็ม (full paper) โดยรายงานการ
ระเบียบวิธีศึกษ� วิจัยที่ผ่านเกณฑ์จะนำามาทบทวนวรรณกรรม
การศึกษาครั้งนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม
จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทาง ขั้นตอนและวิธีก�รรวบรวมข้อมูล
เลือกต่อระดับความดันโลหิตในรูปแบบต่าง ๆ โดย 1. กำาหนดคำาค้นที่ใช้ในการคัดเลือกงานวิจัย
ประยุกต์ใช้แนวทางบางขั้นตอนในเรื่องการทบทวน 2. สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ThaiJo และ
วรรณกรรมอย่างเป็นระบบของสถาบันโจแอนนา Google Scholar
บริกส์ โดยใช้ค้นหาจากแหล่งข้อมูล ThaiJoและ 3. คัดเลือกงานวิจัยเบื้องต้น ได้มีการคัด
[13]
Google Scholar ตั้งแต่ปีค.ศ. 2009-2017โดยใช้คำา กรองงานวิจัยตามเกณฑ์ที่กำาหนดจาก ชื่อเรื่อง และ