Page 73 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 73

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  211




                            อภิปร�ยผล                     แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p > 0.05) แต่
                   จากการเปรียบเทียบความแตกต่างของ PPT    เมื่อพิจารณาค่าความแตกต่างของ VAS พบว่าแผ่น

              เมื่อรักษาด้วยแผ่นประคบร้อนทั้ง 3 ชนิดพบว่า ไม่มี  ประคบร้อนสมุนไพรให้ผลในการลดระดับ VAS ได้
              ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p > 0.05)   ดีที่สุดเมื่อเทียบกับแผ่นประคบร้อนไฟฟ้า และ แผ่น

              ในผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีอาการปวดบ่าทางด้านขวา แต่ทั้งนี้  ประคบร้อนแบบร้อนชื้น ตามลำาดับ เนื่องจากแผ่น
              จะเห็นว่ามีแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของ PPT ซึ่ง  ประคบร้อนสมุนไพรสามารถดูดซับและกักเก็บความ
              แผ่นประคบร้อนแบบร้อนชื้นสามารถบรรเทาอาการ   ร้อนไว้ในสมุนไพรได้เป็นเวลานานกว่าแผ่นประคบ

              ของจุดกดเจ็บชนิดแฝงได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับแผ่น  ร้อนแบบร้อนชื้น จึงทำาให้สามารถถ่ายเทความร้อน
              ประคบร้อนสมุนไพรและแผ่นประคบร้อนไฟฟ้าตาม    ไปยังเนื้อเยื่อของร่างกายได้มากกว่า ส่งผลให้ผู้เข้า
              ลำาดับ แผ่นประคบร้อนไฟฟ้ามีคุณสมบัติในการให้  ร่วมวิจัยรู้สึกผ่อนคลายและลดอาการปวดได้ดีกว่า

              ความร้อนแห้ง ซึ่งสามารถควบคุมอุณหภูมิของแผ่น  นอกจากนี้แผ่นประคบร้อนสมุนไพรสามารถลดความ
              ประคบร้อนให้คงที่ได้ง่ายโดยใช้หลักการการเปลี่ยน  เจ็บปวดได้ดีกว่าแผ่นประคบร้อนไฟฟ้า เนื่องจาก
                                                                               ้
              พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน [12-13]  เนื่องจาก  แผ่นประคบร้อนสมุนไพรมีนำาที่ได้จากการระเหยของ
              คุณสมบัติของสารในแผ่นประคบร้อนมีความแตกต่าง  สมุนไพรเป็นตัวกลางในการนำาความร้อน แต่ในแผ่น
              กัน โดยมีตัวกลางในการนำาความร้อนที่แตกต่างกัน  ประคบร้อนไฟฟ้าจะมีอากาศเป็นตัวกลางในการนำา
                                           ้
              ซึ่งแผ่นประคบร้อนแบบร้อนชื้นจะมีนำาเป็นตัวกลาง  ความร้อน จากคุณสมบัติในการนำาความร้อนสารที่มี
              ในการนำาความร้อน แผ่นประคบร้อนสมุนไพรจะ     สถานะของเหลวจะนำาความร้อนได้ดีกว่าสถานะแก๊ส
                 ้
              ใช้นำาที่ได้จากการระเหยของสมุนไพรเป็นตัวกลาง     จากผลการศึกษาความแตกต่าง PPT และ VAS
                                        ้
              ในการนำาความร้อนซึ่งปริมาณนำาจะน้อยกว่าแผ่น  ก่อนและหลังการรักษาด้วยแผ่นประคบร้อนทั้ง 3
              ประคบร้อนแบบร้อนชื้น และในแผ่นประคบร้อน     ชนิด พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทาง

              ไฟฟ้าจะมีอากาศเป็นตัวกลางในการนำาความร้อน จาก  สถิติ (p < 0.05) ในผู้เข้าร่วมที่มีอาการปวดบ่าทางด้าน
              คุณสมบัติในการนำาความร้อน สารที่มีสถานะของเหลว  ขวา เนื่องจากการรักษาด้วยแผ่นประคบร้อน ทำาให้
              จะนำาความร้อนได้ดีกว่าสถานะแก๊ส  ดังนั้นแผ่น  เกิดการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิบริเวณผิวหนัง จะ
                                          [14]
              ประคบร้อนชนิดร้อนชื้นสามารถถ่ายเทความร้อนไป  เกิดการกระตุ้นเส้นใยประสาทที่อยู่บริเวณผิวหนัง
              ยังผิวหนังได้ดีกว่าแผ่นประคบร้อนชนิดร้อนแห้ง จึง  ทำาให้การนำาสัญญาณประสาทของ C fiber ลดลง ทั้ง
              สามารถบรรเทาอาการปวดที่จุดกดเจ็บได้ดีกว่า แต่  afferent fiber และ efferent fiber จากนั้นการนำา

              แผ่นประคบร้อนแบบร้อนชื้นและแผ่นประคบร้อน    สัญญาณประสาทของความเจ็บปวดไปยังสมองลดลง
              สมุนไพรซึ่งเป็นการให้ความร้อนแบบร้อนชื้นเช่น  ส่งผลให้ความรู้สึกเจ็บปวดน้อยลงตามทฤษฎี gate
              เดียวกัน จึงพบว่าการบรรเทาอาการปวดที่จุดกดเจ็บ  control [15-17]

              ได้ใกล้เคียงกัน                                 จากการเปรียบเทียบความแตกต่างความ
                   จากการเปรียบเทียบความแตกต่างของ VAS    ยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อบ่า เมื่อรักษาด้วยแผ่นประคบ

              เมื่อรักษาด้วยแผ่นประคบร้อนทั้ง 3 ชนิดไม่มีความ  ร้อนทั้ง 3 ชนิดไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัย
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78