Page 193 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 193

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  331




              บินอยด์ ชนิดที่ 1 (Cannabinoid, หรือ CB1 Recep-  ในการประมวลผลของสมองที่ลดลง
              tors) โดยสัมพันธ์กับฤทธิ์สะสมของกัญชา แต่จะกลับ     2.7  ผลทางจิตเวช
              เป็นปกติหลังเลิกยา 1 เดือน มีหลักฐานจำากัดว่าการ     มีการศึกษาทางระบาดวิทยา พบความสัมพันธ์

              ใช้กัญชาเป็นเวลานานจะลดระดับของ glutamate   เชิงขนาด-ผลตอบสนอง (dose-response relation-
              metabolites ในสมองมนุษย์                    ship) ระหว่างการใช้กัญชากับโรคจิต (psychosis)

                   2.6  ผลด้านสติปัญญาหรือ “การรู้คิด” (Cogni-  และการเกิดโรคจิตเร็วขึ้น (earlier onset of psy-
              tion)                                       chosis) แต่ยังขาดหลักฐานพิสูจน์ว่ากัญชาเป็นสาเหตุ
                   การวิเคราะห์อภิมานในปี 2558 พบว่า แม้การ  แต่พิจารณาสาเหตุทางชีววิทยา (biological causal

              เลิกยานานขึ้น จะสัมพันธ์กับการที่ความเสียหายมี  pathway) มีโอกาสเกิดขึ้นได้ (plausible) โดยเฉพาะ
              ขนาดเล็กลง แต่ความจำาทั้งย้อนไปข้างหลังและไปข้าง  ในกรณีที่มีความโน้มเอียงทางพันธุกรรมที่จะเกิดการ

              หน้า (retrospective and prospective memory)    เจ็บป่วยทางจิต กัญชาก็อาจเป็นตัวกระตุ้นให้เกิด
              จะเสื่อมลง ในผู้ใช้กัญชา การวิเคราะห์อภิมานอีกชิ้น  (trigger)
              หนึ่งในปี 2555 พบว่าการลดลงในด้านต่าง ๆ ส่วน     ไม่ชัดเจนว่าการใช้กัญชาจะเพิ่มอัตราการฆ่า

              ใหญ่ของการรู้คิด จะคงอยู่เลยจากระยะที่เป็นพิษ  ตัวตายหรือไม่ กัญชาอาจเพิ่มความเสี่ยงของโรคซึม
              เฉียบพลัน แต่ไม่พบปัญหาดังกล่าวในผู้ที่เลิกยานาน  เศร้า แต่ยังไม่มีผลการวิจัยพอที่จะสรุปได้ กัญชาอาจ
              เกิน 25 วัน มีการศึกษาที่มีคุณภาพสูงอีก 2-3 ชิ้น  สัมพันธ์กับการเพิ่มความเสี่ยงต่อความวิตกกังวล แต่

              เกี่ยวกับผลระยะยาวของกัญชาต่อการรู้คิด แต่ผล  ก็ยังไม่มีหลักฐานให้สรุปได้ว่ากัญชาเป็นสาเหตุ
              ไม่คงเส้นคงวา ผลการทบทวนชิ้นหนึ่ง สรุปว่า การ     การทบทวนในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 พบว่าการ
              ทำาหน้าที่เรื่องการรู้คิดของสมองส่วนมากไม่เสียหาย  ใช้กัญชาในช่วงวัยรุ่นมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มความ

              จากการเสพกัญชาแต่ความบกพร่องยังคงอยู่ในส่วน  เสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้า และพฤติกรรมการฆ่าตัว
              ของ executive functions ซึ่งมักพบค่อนข้างบ่อยใน  ตายในช่วงหลังของชีวิต แต่ไม่พบความสัมพันธ์กับ

              คนสูงอายุ ซึ่งอาจเกิดจากการใช้กัญชามาเป็นเวลานาน   เรื่องความวิตกกังวล
              หรือเกิดกับการใช้กัญชาในวัยรุ่น มีหนึ่งการทบทวน ที่     2.8 ความผิดปกติเกี่ยวกับการเสริมแรง (Re-
              ศึกษากลุ่มประชากรไปข้างหน้า (prospective cohort   inforcement disorders)

              studies) 3 ชิ้น ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้     ราว 9 % ของผู้ที่ทดลองใช้กัญชาพบว่ามีการ
              กัญชากับระดับไอคิว การศึกษาดังกล่าวติดตามผู้ใช้  เสพติดตามเกณฑ์คู่มือการวินิจฉัย และสถิติความผิด

              กัญชาปริมาณมาก (heavy cannabis users) พบว่า  ปกติทางจิต [(Diagnostic and Statistical Manual
              ระดับไอคิวลดลงระหว่างช่วงอายุ 7-13 ปี และ 38 ปี   of Mental Disorders ฉบับที่ 4 : DSM – IV (1994)]
              ผลการเรียนที่ไม่ดีและอุบัติการณ์ของการออกจาก  ผลการทบทวนในปี 2556 พบผู้ใช้กัญชาเป็นประจำา

              โรงเรียนก่อนกำาหนดสัมพันธ์กับการใช้กัญชา แต่บอก  ทุกวันจะสัมพันธ์กับการเสพติด 10-20% ความเสี่ยง
              ไม่ได้ว่ากัญชาเป็นสาเหตุ และพบว่าผู้เสพกัญชามีการ  สูงสุดในการเสพติดพบในผู้มีประวัติการเรียนไม่
              ทำางานของสมองเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับประสิทธิภาพ  ดี มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนในวัยเด็กและวัยรุ่น พวก
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198