Page 192 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 192
330 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
กัญชาต่อระบบหายใจ พบว่าผู้สูบกัญชาจำานวนมาก มีข้อห่วงใยว่า กัญชาอาจก่อโรคระบบหัวใจและ
เป็นประจำา สัมพันธ์กับอาการไอ มีเสมหะมาก มีเสียง หลอดเลือด แต่ข้อมูลจนถึง พ.ศ. 2561 พบว่าความ
วี้ดในปอด และอาการอื่น ๆ ของโรคหลอดลมอักเสบ สัมพันธ์กับโรคกลุ่มนี้ยังไม่ชัดเจน เชื่อว่ากัญชาอาจ
้
เรื้อรัง การใช้กัญชาระยะสั้นสัมพันธ์กับการขยายของ เป็นปัจจัยซำาเติมให้เกิดภาวะหลอดเลือดอักเสบซึ่ง
หลอดลม ผลข้างเคียงอื่น ๆ พบว่ากัญชาอาจทำาให้เกิด พบน้อยมาก แต่เป็นโรคร้ายแรงที่บางรายต้องรักษา
กลุ่มอาการอาเจียนรุนแรงจากสารแคนนาบินอยด์ โดยการตัดขา แต่เพราะรายงานผู้ป่วยเหล่านี้มีถึง 97%
(Cannabinoid hyperemesis syndrome) ที่สูบบุหรี่ร่วมด้วย ทำาให้ไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์
ควันกัญชามีสารประกอบทางเคมี ทั้งอินทรีย์ กับกัญชา ถ้าในอนาคตสามารถสรุปความสัมพันธ์ดัง
้
และอนินทรีย์จำานวนมาก นำามันดิน (tar) จากควัน กล่าวนี้ได้ ก็อาจเป็นผลจากฤทธิ์ที่ทำาให้หลอดเลือดหด
กัญชา มีสมบัติทางเคมีคล้ายกับที่พบในควันบุหรี่ โดย ตัวจากสาร delta-8-THC และ delta-9-THC อาการ
มีสารมากกว่า 50 ชนิด ที่เป็นสารก่อมะเร็ง ได้แก่ สาร ไม่พึงประสงค์ร้ายแรงทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มไนโตรซามีน, รีแอคตีฟว์ อัลดีฮัยด์, โพลีไซคลิก อื่น ๆ ได้แก่ ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคหลอดเลือด
ไฮโดรคาร์บอน และเบนซ์ไพรีน การสูบกัญชาโดย สมอง (stroke) หัวใจวายฉับพลัน (sudden cardiac
ทั่วไปมีการ “อัด’’ ควันลึกกว่าการสูบบุหรี่ อย่างไร death) และมีรายงานโรคกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomy-
ก็ดี ข้อมูลจนถึง พ.ศ. 2558 ยังไม่มีข้อยุติว่าการสูบ opathy) ที่สัมพันธ์ชั่วคราวกับการใช้กัญชา แต่การ
กัญชาเพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งปอดหรือไม่ เชื่อว่าการ ศึกษาเรื่องนี้หาข้อสรุปยาก เพราะผู้ป่วยมักใช้กัญชา
สูบกัญชาขนาดน้อยหรือปานกลางไม่เพิ่มความเสี่ยง ร่วมกับบุหรี่ แอลกอฮอล์ และโคเคน มีหลักฐานบาง
ต่อมะเร็งปอด หรือมะเร็งทางเดินหายใจส่วนบน โดย ชิ้นจากรายงานผู้ป่วยพบว่า การใช้กัญชาอาจทำาให้เกิด
ทั่วไปพบว่า ความเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนทางปอดในผู้ ภาวะทางหัวใจ และหลอดเลือดที่ร้ายแรงถึงตายได้ใน
่
สูบกัญชาเป็นประจำาตำากว่าผู้สูบบุหรี่มาก การทบทวน ประชากรอายุน้อยที่ไม่เคยถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจ
รายงานทางวิชาการในปี 2558 พบความสัมพันธ์ และหลอดเลือด การสูบกัญชายังพบว่า เพิ่มความเสี่ยง
ระหว่างการเสพกัญชากับการเกิดเนื้องอกลูกอัณฑะ จากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย ได้ 4.8 เท่า หลังเสพ 60
(testicular germ cell tumors: TGCTs) โดยเฉพาะ นาที
ชนิด non-seminoma การวิเคราะห์รายงานการศึกษา 2.5 ผลต่อสมอง
6 รายงานในปี 2558 พบหลักฐานเพียงเล็กน้อยว่าการ ความผิดปกติของสมองที่พบเสมอจากการใช้
ใช้กัญชาเป็นประจำา หรือในระยะยาวสัมพันธ์กับความ กัญชาเป็นเวลานาน คือ การลดขนาดของสมองส่วน
เสี่ยงต่อมะเร็งปอด แม้จะยังไม่สามารถตัดความ ฮิปโปแคมคัส (Hippocampus) อีกส่วนหนึ่งที่พบเป็น
สัมพันธ์กับการสูบหนักได้ การวิเคราะห์อภิมานอีก บางครั้งคือ ความผิดปกติของสมองส่วนอะมิกดาลา
ชิ้นหนึ่งในปี 2558 ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการ (Amygdala) ซึ่งสมองทั้งสองส่วนนี้ ทำาหน้าที่เกี่ยวกับ
ใช้กัญชาตลอดชีวิตกับมะเร็งที่ศีรษะและลำาคอ สาร ความจำา ทั้งชนิดที่ผ่านมาไม่นาน (recent memory)
จากการเผาไหม้กัญชาไม่พบในการเสพโดยการสูด และที่ผ่านมานานแล้ว (remote memory)
ไอระเหย ใช้ทีเอชซีชนิดเม็ด หรือการใช้ในอาหาร กัญชา ยังมีผลต่อการทำาหน้าที่ของตัวรับแคนนา