Page 198 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 198
336 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
โทษจัดให้กัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เช่น ได้โดยสารสกัดจากกัญชาแล้ว
เดียวกับกระท่อม ซึ่งเปิดช่องไว้ในมาตรา 26 ว่า “ห้าม การที่วงวิชาการแทบจะ “หลับสนิท’’ ในเรื่อง
มิให้ผู้ผลิต จำาหน่าย นำาเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบ กัญชา ทั้ง ๆ ที่วงวิชาการตะวันตกเริ่มเปลี่ยนกระบวน
ครอง ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 หรือประเภท ทัศน์เรื่องกัญชา ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 ทำาให้
5 เว้นแต่รัฐมนตรีจะอนุญาตโดยความเห็นชอบของ นอกวงวิชาการไทยเกิดการแชร์ “ข้อมูล’’ และ “ความ
คณะกรรมการเป็นรายๆ ไป’’ คณะกรรมการในที่ รู้’’ ทางสื่อสังคมออนไลน์กันอย่างกว้างขวาง ซึ่งส่วน
นี้คือ คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษตาม ใหญ่หรือแทบทั้งหมดเป็นการเผยแพร่ความรู้ที่มิใช่
พระราชบัญญัติดังกล่าว และก็มีกฎกระทรวงฉบับ ความรู้ที่ผ่านการตรวจสอบหรือทบทวนในวงวิชาการ
[28]
ที่ 4 (พ.ศ. 2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา ตาม “ขนบ’’ ที่ถูกต้องทางวิชาการ ทำาให้ความรู้ที่
เสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 กำาหนดไว้ใน ข้อ 1 ว่า “ผู้ใด ผิด ๆ หรือที่อันตรายเผยแพร่ออกไปเรื่อย ๆ
ประสงค์จะขออนุญาต ผลิต จำาหน่าย นำาเข้า ส่งออก ตัวอย่างเช่น หนังสือ กัญชาปกรณัม ตำานาน
หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท พืชพันธุ์แห่งเสรี เขียนโดยผู้ที่ไม่มีความรู้พอเพียง
4 หรือในประเภท 5 ให้ยื่นคำาขอตามแบบ ย.ส.21 ท้าย โดยเฉพาะในทางวิทยาศาสตร์ แม้จะมีรายการหนังสือ
กฎกระทรวงนี้ พร้อมด้วยหลักฐานตามที่ระบุไว้ใน ที่ใช้ประกอบในการเขียนปรากฏใน “บรรณานุกรม’’
แบบ ย.ส. 21’’ [29] (ซึ่งมิได้เขียนอย่าง “บรรณานุกรม’’) ถึง 17 รายการ
ฉะนั้น หากจะทำาการศึกษาวิจัยเรื่องกัญชาก็ แต่มีการเข้าใจผิด และตีความผิดจำานวนมาก เช่น
ย่อมกระทำาได้อย่างกว้างขวางโดยถูกกฎหมาย เพราะ เข้าใจผิดอย่างฉกรรจ์ว่าคัมภีร์ยชุรเวท เป็นคัมภีร์
สามารถขออนุญาต “ผลิต จำาหน่าย นำาเข้า ส่งออก หรือ อายุรเวท (หน้า 69) แปลชื่อแพทยสมาคมอเมริกันเป็น
มีไว้ในครอบครอง” ได้ การที่มีผู้อ้างว่า เพราะกัญชา สมาคมเภสัชกรรมอเมริกัน (หน้า 179) ไม่แยกแยะ
ถูกจัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ทำาให้ศึกษาวิจัย ระหว่างกัญชง (Hemp) กับ กัญชา (Marihuana)
ไม่ได้ จึงเป็นความเข้าใจผิด ในสหรัฐอเมริกา มีผล เข้าใจผิดว่าคัมภีร์สมุนไพรของเสินหนงเขียนโดย
การศึกษาวิจัยออกมามากพอควร ทั้ง ๆ ที่มีข้อจำากัด “เผิงจ้าว’’ ทั้ง ๆ ที่คำานี้ คือ “เปิ่นฉ้าว’’ หมายถึง “ตำารา
คล้ายคลึงกับประเทศไทย เพราะสหรัฐก็จัดให้กัญชา สมุนไพร’’ มิใช่ชื่อคน ฯลฯ และหนังสือ 2 เล่มของ
เป็นยาเสพติดให้โทษ ในบัญชี 1 (Schedul I drug) [30] นายแพทย์สมยศ กิตติมั่นคง ที่เสนอสรรพคุณของ
อนึ่ง มีการศึกษาของนักวิชาการไทย ศึกษา กัญชาเกินกว่าหลักฐานที่ยอมรับในวงวิชาการไปมาก
้
ฤทธิ์กัญชาต่อเซลล์มะเร็งท่อนำาดี ตีพิมพ์ในวารสาร กล่าวถึงอันตรายจากกัญชา และความปลอดภัยของ
ต่างประเทศ เมื่อพฤษภาคม 2553 พบว่าสารสกัด กัญชาที่ผลิตโดยมิได้มีการควบคุม ตรวจสอบ และ
[31]
กัญชาสามารถยับยั้งเซลล์มะเร็งได้ในหลอดทดลอง ประกันคุณภาพ น้อยกว่าที่ควรมาก
ย่อมเป็นหลักฐานว่า แม้กัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ
ประเภท 5 ก็ไม่ใช่ข้อห้ามเด็ดขาดที่จะทำาให้วิจัยไม่ได้ 2. องค์คว�มรู้เรื่องกัญช�โดยสังเขป
ทั้งนี้ผลการวิจัยดังกล่าว ยังอยู่ในขั้นเริ่มต้นมาก แต่มี โดยที่บทความวิชาการเรื่องกัญชาในต่าง
การออกข่าวในลักษณะว่า “ค้นพบ’’ การรักษามะเร็ง ประเทศมีกว่า 1 แสนเรื่อง โดยเป็นองค์ความรู้ในแขนง