Page 197 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 197

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  335




              เปรี้ยว เสียงแหบแห้ง ขัดสีข้าง ขัดอก ท้องขึ้น กิน  คัมภีร์ ตำาราอายุรเวท ยูนานิ สิทธา และโยคะรวม
              อาหารไม่มีรส นอนไม่ใคร่หลับ...’’   (16) ยาแก้นอน  148 เล่ม เป็นข้อมูล 34 ล้านหน้า มีตำารับยาอายุรเวท
                                        [25]
              ไม่หลับ ยาแก้ไข้ผอมเหลือง [26]              80,000 ตำารับ ยูนานิ 1,000,000 ตำารับ และสิทธา

                   อนึ่ง ตำารับยาอไภยสาลี เคยจัดเป็นยาในบัญชี  12,000 ตำารับ พบคำาไวพจน์ของกัญชา ราว 40 คำา
              ยาหลักแห่งชาติ กลุ่มยาสมุนไพรแล้วโดยตัดกัญชา  จากการทบทวนตำารับยาอายุรเวทโดยสภาที่ปรึกษา

              ออกจากตำารับ  เพราะเวลานั้นกัญชาเป็นยาเสพติด  การวิจัยทางศาสตร์อายุรเวท (Central Council for
              ประเภท 5 ที่ยังไม่ผ่อนคลายตาม พ.ร.บ. ยาเสพติด  Research in Ayurvedic  Sciences : CCRAS) พบ
              ให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562  การตัดส่วนผสมกัญชา  ตำารับยาอายุรเวท 191 ตำารับ ใน 13 รูปแบบ (dosage

              ออกจากยาตำารับดังกล่าว บ่งว่า กัญชาอาจไม่ใช่ตัวยา  form) ที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ใช้รักษาโรค และ
              สำาคัญในตำารับยาดังกล่าว                    อาการรวม 29 โรค / อาการ  แสดงว่าในคัมภีร์/ ตำารา
                                                                              [27]
                   ตำารับยาในคัมภีร์และตำาราการแพทย์แผนไทย  อายุรเวท มีตำารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนผสมไม่มากนัก
              ที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ  ส่วนที่ประกาศ 16 ตำารับ
              อยู่ในกลุ่ม “ตำารับยาที่มีประสิทธิผล มีความปลอดภัย         บทวิจ�รณ์

              วิธีการผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อน ตัวยาหาไม่ยาก และ
              มีสรรพคุณที่แก้ปัญหาสาธารณสุข’’ ตำารับยา “ที่มี  1.  สถ�นก�รณ์คว�มรู้เรื่องกัญช�ในวงวิช�ก�ร
              ประสิทธิผล แต่วิธีการผลิตไม่ชัดเจน ตัวยาหายาก” มี   ประเทศไทย

              11 ตำารับ ที่ควรให้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม 32 ตำารับ      น่าสังเกตว่า ขณะที่วงวิชาการในต่างประเทศ
              และที่มีส่วนประกอบที่อนุสัญญาไซเตส (CITES) และ  มีบทความวิชาการเรื่องกัญชากว่าหนึ่งแสนเรื่อง
              องค์การอนามัยโลกประกาศห้ามใช้และที่กฎหมายไม่  วารสารวิชาการในประเทศไทยมีเรื่องกัญชาเพียง

              อนุญาต 31 ตำารับ                            29 เรื่อง โดยบทความทั้งหมดมิใช่ผลการวิจัยทาง
                                                          วิทยาศาสตร์ เป็นเพียงการทบทวนความรู้จากต่าง
              5. กัญช�ในตำ�ร�ก�รแพทย์แผนดั้งเดิมของ       ประเทศเท่านั้น สะท้อนความอ่อนแออย่างยิ่งของวง
              อินเดีย                                     วิชาการประเทศไทย  ทั้ง ๆ ที่เรามีมหาวิทยาลัยนับ

                   อินเดียมีการแพทย์แผนโบราณถึง 6 ระบบ    ร้อยแห่ง และมีสถาบันวิจัยระดับชาติอีกหลายแห่ง

              ได้แก่ อายุรเวท โยคะ สิทธา ยูนานิ ธรรมชาติบำาบัด      ข้อจำากัดสำาคัญประการหนึ่ง คือ เพราะกัญชาถูก
              และโฮมิโอพาที เมื่อ พ.ศ. 2544 อินเดียได้จัดทำา  จัดเป็นยาเสพติดให้โทษ จึงทำาให้เกิดความยุ่งยากใน

              ห้องสมุดดิจิทัลความรู้แผนโบราณ (Traditional   การทำาการศึกษาวิจัย แตกต่างจากในประเทศตะวันตก
              Knowledge Digital Library: TKDL) โดยความ    ที่เริ่มผ่อนคลายความเข้มงวดในการควบคุมกัญชาใน
              ร่วมมือระหว่างสภาวิจัยวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม   ฐานะยาเสพติดให้โทษ มาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970

              (Council of Scientific and Industrial Research:   ซึ่งมีผลให้มีการศึกษาวิจัยกัญชาอย่างกว้างขวาง และ
              CSIR) และกระทรวงการแพทย์แผนโบราณ (AY-       เกิดองค์ความรู้มากมาย อย่างไรก็ดี อุปสรรคดังกล่าว
              USH) เพื่อคุ้มครองภูมิปัญญาดั้งเดิม มีการแปลง  ก็มิใช่เป็นประตูที่ปิดตาย พระราชบัญญัติยาเสพติดให้
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202