Page 189 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 189
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 327
ในประเทศไทย อายุ 102 ปี เป็นวารสารรายเดือน ตี ดังนี้ [13-14]
พิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ (2) สารศิริราชซึ่งเป็นวารสาร กัญชา เป็นพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis
การแพทย์เก่าแก่ อายุ 71 ปี ปัจจุบันตีพิมพ์เป็นภาษา sativa L. มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท นำามาใช้ทั้งเพื่อ
อังกฤษ รายสองเดือน (3) จุฬาลงกรณ์เวชสาร เป็น ประโยชน์ทางการแพทย์และนันทนาการ สารที่มีฤทธิ์
วารสารการแพทย์ อายุ 63 ปี รายสองเดือน ยังคงตี ต่อจิตประสาท คือ สาร Tetrahydrocannabinol
พิมพ์เป็นภาษาไทยเป็นหลัก และ (4) รามาธิบดีเวช (THC) ซึ่งเป็น 1 ในสารประกอบ 483 ชนิด ที่เป็นที่รู้จัก
สาร ซึ่งอายุ 42 ปี เป็นวารสารการแพทย์รายสามเดือน แล้วจากกัญชา รวมทั้งสารในกลุ่ม Cannabinoids อื่น
ตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ พบว่าวารสารทั้ง 4 ฉบับ ไม่มี อีกอย่างน้อย 65 ชนิด กัญชา อาจใช้ได้โดยการสูบ การ
เรื่องกัญชาตีพิมพ์เลย ในช่วง 3 ปีเศษที่ผ่านมา สูดดมสารระเหย (vapourizing) ผสมในอาหาร หรือ
จากการสืบค้นในฐานข้อมูลวารสารไทย (Thai ทำาเป็นสารสกัด
Journal Online) พบบทความเรื่องกัญชา รวม 29 กัญชามีผลต่อสมองและร่างกาย ทำาให้เกิด
เรื่อง ไม่มีเรื่องใดที่เป็นการศึกษาวิจัยตัวยาในกัญชา อาการ “เมา’’ (high or stoned) เบิกบาน เจริญอาหาร
เป็นเพียงการศึกษาวิจัยเชิงพฤติกรรม และการ ฤทธิ์ของกัญชาอาจเกิดขึ้นในเวลาเป็นนาทีหลังสูบ
ทบทวนความรู้บางเรื่องจากวารสารวิชาการในต่าง หรือราว 30-60 นาทีหลังรับประทาน และฤทธิ์คงอยู่
ประเทศเท่านั้น โดยเป็นบทความในวารสารการแพทย์ ราว 2-6 ชั่วโมง ผลข้างเคียงระยะสั้น ได้แก่ ปากแห้ง
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกรวม 8 เรื่อง [7-8] หลงลืม ตาแดง ความสามารถในการควบคุมกล้ามเนื้อ
หนังสือที่ทำาให้เกิดการ “ตื่น’’ เรื่องกัญชา ลดลง หวาดระแวง และวิตกกังวล ผลข้างเคียงระยะ
กันอย่างกว้างขวางเล่มหนึ่งคือ “กัญชาคือยารักษา ยาว ได้แก่ อาการเสพติด สติปัญญาเสื่อมลงในผู้ที่เริ่ม
มะเร็ง’’ โดยนายแพทย์สมยศ กิตติมั่นคง ตีพิมพ์ เสพตั้งแต่วัยรุ่น และปัญหาด้านพฤติกรรมในเด็กที่
[9]
เผยแพร่ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2559 ซึ่งสื่อมีการนำาไปเผย แม่เสพกัญชาระหว่างตั้งครรภ์ มีความสัมพันธ์ (as-
แพร่ต่ออย่างกว้างขวาง และผู้เขียนได้ไปออกรายการ sociation) ชัดเจนระหว่างการใช้กัญชากับความเสี่ยง
ทางโทรทัศน์ด้วย ต่อมานายแพทย์สมยศได้เขียน ต่อโรคจิต แม้จะยังมีข้อถกเถียงเรื่องความสัมพันธ์เชิง
หนังสืออีกเล่มหนึ่ง ชื่อ “รักษาโรคด้วยกัญชง และ เหตุและผล (causal relationship)
กัญชา’’ ซึ่งก็ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ในเดือน นอกจากการใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ และ
มกราคม พ.ศ. 2562 มีการตีพิมพ์ครั้งที่ 5 แล้ว [10] นันทนาการแล้ว ยังมีการใช้กัญชาทางจิตวิญญาณ
นอกวงการแพทย์มีหนังสือ และบทความที่เขียน (spiritual purposes) ทั้งในพิธีกรรมต่าง ๆ และเพื่อ
เกี่ยวกับกัญชาไม่มากนัก เช่น (1) กัญชาปกรณัม : การสะกดจิต
ตำานานพืชพันธุ์แห่งเสรี โดยอัศนี มูลเมฆ (2) บาง 2.1 การใช้กัญชาทางการแพทย์
[11]
บทจากสิงห์อมควัน โดย นิพัทธ์พร เพ็งแก้ว การใช้กัญชาทางการแพทย์เพื่อรักษาโรค และ
[12]
2. องค์ความรู้เรื่องกัญชาโดยสังเขป บรรเทาอาการมีมายาวนาน ปรากฏในตำาราต่าง ๆ
งานวิชาการในต่างประเทศมีเรื่องกัญชาจำานวน จำานวนมาก ช่วงที่กัญชาถือเป็นยาเสพติดทำาให้ขัด
มาก พอสรุปองค์ความรู้เรื่องกัญชาโดยสังเขปได้ ขวางการผลิต และการศึกษาวิจัยทางการแพทย์อย่าง