Page 191 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 191
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 329
200-500 ปีก่อนคริสต์ศักราช ได้แก่ จิตเวชศาสตร์ เคมี เภสัชวิทยา นิติวิทยาศาสตร์
2.4 ผลไม่พึงประสงค์ (Adverse effects) ระบาดวิทยา ตำารวจ และนักกฎหมาย ร่วมกันวิเคราะห์
ของกัญชา โดยใช้เทคนิคเดลไฟในการจัดลำาดับ “โอสถลวง
2.4.1 ผลไม่พึงประสงค์ระยะสั้น จิต” [Psychotropic drug] ที่ใช้กันบ่อย ๆ 20 ชนิด
ผลเฉียบพลัน ได้แก่ อาการกระวนกระวาย จัดให้กัญชามีฤทธิเสพติดอันดับที่ 11 อันตรายทาง
ตื่นกลัว (panic) เสียสมาธิและความจำา เพิ่มความ ร่างกายอันดับที่ 17 และอันตรายทางสังคม อันดับ
เสี่ยงต่ออาการทางจิต ไม่สามารถใช้ความคิดได้อย่าง ที่ 10 สารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทหรือ “โอสถลวง
ปลอดโปร่ง และเพิ่มความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุ กัญชา จิต” ทั้ง 20 ชนิด ได้แก่ แอลกอฮอล์, เมทาโดน,
ทำาให้ความสามารถในการขับรถลดลง โดยพบสาร บาร์บิทูเรต, โคเคน, เฮโรอิน, “ฆัต” (Khat), อัลคิล
ทีเอชซี (THC) บ่อยที่สุดในคนขับรถที่ชนกัน ทั้งนี้ ผู้ที่ ไนไตรต์, เอคสเตซี (ยาอี), จีเอชบี (GHB), แอนาบอลิก
พบสารทีเอชซีในเลือดมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุสูงกว่าคน สเตียรอยด์, เมทิลเฟนิเดต, แอลเอสดี, 4-เอมทีเอ (4-
ที่ไม่ได้ใช้กัญชาหรือแอลกอฮอล์ 3-7 เท่า อย่างไรก็ดี MTA), สารระเหย (Solvents), กัญชา, บิวพรีนอร์ฟีน
ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าทีเอชซีเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุ (Buprenorphine), บุหรี่, แอมเฟตามีน, เบนโซไดอะ
เพราะสารทีเอชซี อาจพบในเลือดเป็นเวลาหลายวัน เซพีน และ เคตามีน
หรือหลายสัปดาห์หลังเสพ 2.4.2 ผลไม่พึงประสงค์ระยะยาว
จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขและบริการ การเสพกัญชาอย่างหนักและระยะยาว อาจ
มนุษย์ของสหรัฐ ในปี 2554 พบผู้ป่วยในห้องฉุกเฉิน ก่อผลทางร่างกาย จิตใจ พฤติกรรม และสังคม และ
455,000 รายที่ “สัมพันธ์’’ (associate) กับการใช้ อาจสัมพันธ์กับโรคตับ ปอด หัวใจ และหลอดเลือด
กัญชา ตัวเลขนี้รวมผู้ป่วยที่เกิดอาการจากการใช้ มีข้อแนะนำาให้หยุดเสพกัญชาทั้งก่อนและระหว่างตั้ง
กัญชา และที่เกี่ยวข้อง (relate) กับกัญชา โดยกัญชา ครรภ์ เพราะอาจมีผลเสียต่อทั้งแม่และเด็ก แม้จะ
เป็นเหตุให้ต้องไปใช้บริการห้องฉุกเฉิน แต่ไม่จำาเป็น พบว่า การเสพกัญชาระหว่างตั้งครรภ์จะไม่สัมพันธ์
้
ต้องเป็นสาเหตุโดยตรง (direct cause) ผู้ป่วยส่วน กับทารกนำาหนักน้อยหรือการคลอดก่อนกำาหนด การ
ใหญ่ที่ไปรับบริการห้องผู้ป่วยฉุกเฉินที่เกี่ยวกับการ ทบทวนงานวิชาการในปี 2557 พบว่ากัญชามีอันตราย
ใช้ยาเสพติดผิดกฎหมาย มักเสพยาหลายชนิด โดย น้อยกว่าแอลกอฮอล์ แต่ก็เร็วเกินไปที่จะแนะนำาให้ใช้
มี 129,000 รายที่เกี่ยวกับกัญชาเดี่ยว ๆ กัญชาทดแทนแอลกอฮอล์ในผู้ที่มีปัญหาเลิกดื่มไม่ได้
้
ผลระยะสั้นของกัญชาอาจเปลี่ยนแปลงเมื่อมี เพราะข้อมูลยังมีนำาหนักไม่เพียงพอที่จะให้ข้อแนะนำา
การใช้ยากลุ่มโอปิออยด์ร่วมด้วย เช่น เฮโรอิน หรือ เช่นนั้น ผลการสำารวจหลายการศึกษา ระหว่าง พ.ศ.
เฟนตานิล การใช้ยาอื่นเพิ่มเข้าไปเพื่อเพิ่มผลทางจิต 2558-2562 พบว่าผู้ใช้กัญชาทดแทนสารออกฤทธิ์ต่อ
ประสาท หรือ เพิ่ม “ฤทธิ์ลวงจิต’’ [Psychotropic จิตประสาทอื่น ได้แก่ ยากลุ่มโอปิออยด์ แอลกอฮอล์
action] ขณะเดียวกันก็เพิ่มอันตรายจากการใช้ยา และบุหรี่ ส่วนมากใช้กัญชาแล้วไม่สามารถลดหรือเลิก
เกินขนาด ทั้งแอลกอฮอล์ และบุหรี่ได้
ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการเสพติด จากสาขาต่าง ๆ มีการศึกษาจำานวนไม่มากที่ศึกษาผลของการสูบ