Page 190 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 190

328 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             มาก มีหลักฐานค่อนข้างจำากัดที่บ่งบอกว่ากัญชา  ปากแห้ง ตาแดง  และควบคุมการทำางานของกล้ามเนื้อ
             สามารถลดอาการคลื่นไส้อาเจียนในผู้ที่รับยาเคมี  ไม่ได้ดี นอกจากการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ และการ
             บำาบัด หรือเพื่อเพิ่มความอยากอาหารในผู้ติดเชื้อ  รับรู้แล้ว ผลทางร่างกายและระบบประสาทระยะสั้น

             และผู้ป่วยเอดส์ รวมทั้งเพื่อรักษาอาการปวดเรื้อรัง   ได้แก่ อาการใจสั่น เพิ่มความอยากอาหาร ลดความ
             และการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ การใช้ทางการแพทย์  ดันโลหิต สูญเสียความจำาระยะสั้น เสียสมาธิ และ

             อื่น ๆ ยังไม่มีข้อมูลพอเพียงเรื่องความปลอดภัยและ  เสียการประสานการทำางานของกล้ามเนื้อ ผู้ใช้กัญชา
             ประสิทธิผลของกัญชา                          บางคนมีอาการโรคจิตเฉียบพลัน ซึ่งมักลดลงหลังหก
                 การใช้กัญชาระยะสั้นเพิ่มความเสี่ยงต่อผล  ชั่วโมง แต่ในบางรายที่ใช้มากอาจมีอาการไปหลายวัน

             ไม่พึงประสงค์ทั้งชนิดเล็กน้อยและรุนแรง (minor   การลดคุณภาพชีวิตอาจพบในคนที่เสพหนัก แต่ความ
             and major adverse effects)  ผลข้างเคียง (side   สัมพันธ์นี้น้อยกว่าเมื่อเทียบกับบุหรี่หรือสารเสพติด

             effects) ที่พบบ่อย ได้แก่ อาการมึนงง (dizziness)   อื่น แต่ความสัมพันธ์เชิงเหตุ-ผล ยังไม่ชัดเจน
             เหนื่อยล้า (tired)    และอาเจียน (vomiting) ผลระยะ     แคนาดา เปิดให้ใช้กัญชาเพื่อนันทนาการ เมื่อวัน
             ยาวของกัญชายังไม่ชัดเจน สิ่งที่น่าห่วงใย คือ ปัญหา  ที่ 17 ตุลาคม  พ.ศ. 2561 จึงเป็นประเทศที่สองของโลก

             เรื่องความจำา สติปัญญา ความเสี่ยงต่อการเสพติด   ที่เปิดเช่นนี้ ต่อจากอุรุกวัย และนับเป็นประเทศแรกใน
             โรคจิตเภทในเยาวชน และอันตรายจากเด็กบริโภค   กลุ่มประเทศจี 7 ระบบการอนุญาตผลิตของแคนาดา
             โดยอุบัติเหตุ                               อาจเป็น “มาตรฐานทองคำา’’ ของโลกสำาหรับการ

                 2.2  การใช้เพื่อนันทนาการ               ผลิตกัญชาที่ปลอดภัยและมั่นคง รวมทั้งข้อกำาหนด
                 กัญชามีฤทธิต่อจิตประสาท และทางสรีรวิทยา    ให้มีการผลิตจำานวนมากระดับอุตสาหกรรมจากสาย
             คือ (1) การผ่อนคลาย และความรู้สึกเป็นสุข (eu-  พันธุ์ต่าง ๆ อย่างไรก็ดี กฎหมายของแต่ละจังหวัดใน

             phoria) (คืออาการ “เมา’’) (2) การเปลี่ยนแปลง  แคนาดา แตกต่างกันเรื่องอายุของผู้ได้รับอนุญาตให้
             สติสัมปชัญญะ เพิ่มความไวทางความรู้สึก และเพิ่ม  เสพ ลักษณะร้านค้าปลีก และการอนุญาตให้ปลูกที่

             ราคะ (libido) (3) ความผิดเพี้ยนในความรับรู้เรื่อง  บ้าน
             เวลา และสถานที่ ถ้าใช้ในขนาดสูง อาจทำาให้เกิด     2.3  การใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางจิตวิญญาณ
             ภาพลวงตา หรือหูแว่ว อาการประสาทหลอนเทียม        กัญชามีสถานะเป็นของศักดิ์สิทธิ์ในหลาย

             (pseudo hallucination) และการสูญเสียสมรรถนะ  ศาสนา มีการใช้กัญชาในบริบทที่เกี่ยวกับพระเจ้า จิต
             ในการควบคุมการเคลื่อนไหวเนื่องจากการเสีย    วิญญาณ ศาสนา และหมอผี ในอินเดียมีการใช้ตั้งแต่

             ปฏิกิริยาสะท้อนทางระบบประสาท (impairment of   ยุคพระเวท ราว 1,500-2,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช
             polysynaptic reflexes) ในบางราย อาจทำาให้เกิด  ปรากฏในคัมภีร์  อาถรรพเวท และฤคเวท ในเทพ
             ภาวะแยกตัว  (dissociative states) เช่น การลืมตัว   ปกรณัมของกรีก มีการใช้กัญชาเป็นเครื่องขจัดความ

             (depersonalization) และสูญเสียความตระหนักรู้   ปวดร้าว และเศร้าโศก ในบันทึกของเฮโรโดตัส บิดา
             (derealization)                             แห่งวิชาประวัติศาสตร์ชาวกรีก มีเรื่องราวการใช้กัญชา
                 ผลข้างเคียงระยะสั้น ได้แก่ การหลงลืมระยะสั้น   ในพิธีกรรมของชาวไซเธียน (Scythians) ตั้งแต่ราว
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195