Page 184 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 184

322 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 17  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2562




             หัวใจเป็นพระราชวัง และมีเยื่อหุ้มหัวใจเป็นกำาแพง  ลมปราณเริ่นจึงถือเป็นตัวเลือกที่ดีอีกตัวเลือกหนึ่งที่
             ล้อมรอบ คอยป้องกันไม่ให้ปัจจัยการก่อโรคต่าง ๆ   ใช้รักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด
             (เสียชี่ 邪气) เข้ามารุกรานหัวใจ กล่าวคือ ถ้ามีเสียชี่     จากผลการวิจัยจะสังเกตได้ว่าจุดที่มีการใช้มาก

             เข้ามาที่หัวใจ จะต้องผ่านด่านเยื่อหุ้มหัวใจก่อน    ที่สุดคือจุด 内关 (PC6) บนเส้นมือจเหวียอินเยื่อหุ้ม
                                                   [8]
             บทความวิจัยฉบับนี้ใช้จุด 内关 (PC6) มากที่สุด มี  หัวใจ ซึ่งถึงแม้ตำาแหน่งของจุดจะอยู่บริเวณแขนด้าน

             การใช้มากถึง 84 เรื่องจากทั้งหมด 111 เรื่อง ซึ่งจุดนี้  ใน เหนือรอยพับข้อมือ 3 นิ้วมือ ระหว่างเอ็น palmaris
             อยู่บนเส้นมือจเหวียอินเยื่อหุ้มหัวใจ ตรงกับทฤษฎี  longus กับ flexor carpi radialis ซึ่งถือเป็นจุดไกล
             การแพทย์แผนจีนที่บอกว่า เยื่อหุ้มหัวใจเป็นเกราะ  (กล่าวคือเป็นจุดไกลกับบริเวณตำาแหน่งที่เกิดโรค) แต่

             ป้องกันไว้รับเสียชี่แทนหัวใจ                จุดนี้อยู่บนเส้นมือจเหวียอินเยื่อหุ้มหัวใจ มีสรรพคุณ
                 ในคัมภีร์แพทย์จีนโบราณจู่ท่งลุ่น (举痛论   ในการรักษาอาการเจ็บหน้าอกได้เป็นอย่างดี จึงมีการ

             Ju Tong Lun) กล่าวว่าเมื่อความเย็นมากระทบเส้น  เลือกใช้จุดนี้มากที่สุด อีกสองจุดที่ใช้มากเป็นอันดับ
             ลมปราณบริเวณด้านหลัง (ซึ่งเป็นที่อยู่ของเส้นเท้าไท่  2 และอันดับ 3 ตามมาคือจุด 心俞 (BL15) และ 膻中
             หยางกระเพาะปัสสาวะ) ความเย็นจะเข้าไปติดขัดอยู่  (CV16) บนเส้นเท้าไท่หยางกระเพาะปัสสาวะและ

             ที่เส้นลมปราณ ทำาให้เส้นลมปราณเกิดการฝืด พอ  เส้นลมปราณเริ่นตามลำาดับ ซึ่งเส้นลมปราณทั้งสอง
             เส้นลมปราณฝืดเกิดภาวะเลือดพร่อง (มีเลือดไปหล่อ  เส้นนี้ถือเป็นจุดใกล้ (กล่าวคือเป็นจุดใกล้กับบริเวณ
             เลี้ยงไม่เพียงพอ) เลือดพร่องทำาให้เกิดการปวด เมื่อ  ตำาแหน่งที่เกิดโรค) จึงถูกเลือกใช้เป็นอันดับต้น ๆ ใน

             เกิดการปวดบริเวณหลังจะทำาให้เกิดการปวดแน่นที่  การรักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด
                           [9]
             บริเวณหัวใจตามมา  บทความวิจัยฉบับนี้ใช้จุด 心俞
             (BL15) มากเป็นอันดับสอง มีการใช้มากถึง 52 เรื่อง            บทสรุป

             จากทั้งหมด 111 เรื่อง ซึ่งจุดนี้อยู่บนเส้นเท้าไท่หยาง     งานวิจัยฉบับนี้ได้ทำาการรวบรวมข้อมูลและ
             กระเพาะปัสสาวะ จึงเป็นเหตุผลว่าทำาไมจึงมีการเลือก  จัดการสถิติ มีบทความวิจัยที่ถูกคัดเลือกทั้งสิ้น 111

             ใช้จุด 心俞 (BL15) และเส้นเท้าไท่หยางกระเพาะ  เรื่อง โดยใช้โปรแกรม Microsoft excel ในการ
             ปัสสาวะมากเป็นอันดับสองรองจากจุด 内关 (PC6)   วิเคราะห์และสรุปหลักเกณฑ์การเลือกจุดฝังเข็มใน
             บนเส้นมือจเหวียอินเยื่อหุ้มหัวใจ            การรักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด

                 จุดที่ 3 ที่ใช้บ่อยคือ 膻中 (CV16) ตำาแหน่ง  ดังนี้
             ของจุดอยู่กลางหน้าอก ตั้งอยู่บนเส้นลมปราณเริ่น      การรักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากหัวใจขาด

             ซึ่งเส้นลมปราณนี้วิ่งผ่านกึ่งกลางลำาตัวของร่างกายถือ  เลือดมีจุดฝังเข็มที่ใช้บ่อยที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่
             เป็นการเลือกใช้จุดใกล้ในการฝังเข็มรักษาโรค (กล่าว  จุด 内关 (PC6) , 心俞 (BL15) และ 膻中 (CV16)
             คือเลือกใช้จุดที่ตรงกับบริเวณตำาแหน่งที่เกิดโรคหรือ  ส่วนเส้นลมปราณที่ใช้บ่อย 3 อันดับแรกได้แก่ เส้นมือ

             ใกล้กับตำาแหน่งที่เกิดโรค) ในทางการแพทย์แผนจีน  จเหวียอินเยื่อหุ้มหัวใจ เส้นเท้าไท่หยางกระเพาะ
             ได้กล่าวว่าเส้นลมปราณวิ่งผ่านบริเวณไหนจะรักษา  ปัสสาวะ และเส้นลมปราณเริ่น
             บริเวณนั้นได้ผลดี ดังนั้นจุด膻中 (CV16) ของเส้น     ข้อเสนอแนะสำาหรับแพทย์จีนในการนำาผล
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189