Page 183 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 183

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  321




              ตารางที่ 1(ต่อ) ความถี่ของจุดฝังเข็มและเส้นลมปราณ

                                                       ชื่อจุดฝังเข็ม           จำานวน     ร้อยละ
               ลำาดับ           เส้นลมปราณ
                                                         (ความถี่)             ครั้งที่ใช้   (%)

                7     เส้นเท้าหยางหมิง กระเพาะอาหาร   ST36 (Zu San Li) 19,       21        5.19
                                                    ST40 (Feng Long) 2
                8     เส้นมือหยางหมิงลำาไส้ใหญ่     LI4 (He Gu) 6,               10         2.47
                                                    LI11 (Qu Chi) 4
                9     เส้นมือไท่อินปอด              LU9 (Tai Yuan) 4,             8        1.98
                                                    LU1 (Zhong Fu) 3,
                                                    LU5 (Chi Ze) 1
                10    เส้นเท้าเส้าอินไต             KI3 (Tai Xi) 3,               6        1.48
                                                    KI1 (Tong Quan) 2,
                                                    KI6 (Zhao Hai) 1
                11    เส้นเท้าเส้าหยางถุงนำ้าดี     GB39 (Xuan Zhong) 3,          6        1.48
                                                    GB34 (Yang Ling Quan) 2,
                                                    GB40 (Qiu Xu) 1
                12    เส้นเท้าจเหวียอินตับ          LR3 (Tai Chong) 4             4        0.99
                13    เส้นมือเส้าหยางซานเจียว       TE17 (Yi Feng) 1,             2         0.49
                                                    TE5 (Wai Guan) 1
                14    เส้นมือไท่หยางลำาไส้เล็ก      -                             0          0
                      14 เส้นลมปราณ (ไม่รวมจุดพิเศษ)                           405 ครั้ง   100%






              0.49% เท่านั้น และเส้นมือไท่หยางลำาไส้เล็กซึ่งไม่ได้  ต้องการ เกิดหลอดเลือดหัวใจตีบจากการเสื่อมสภาพ
              ถูกกล่าวถึงเลย                              ในผู้ป่วยสูงอายุ, ไขมันในเลือดสูง, ความดันโลหิตสูง,
                                                          เบาหวานหรือกรรมพันธุ์ เป็นต้น  อาการของคนไข้จะ
                                                                                  [6]
                             บทวิจ�รณ์                    มีลักษณะการเจ็บหน้าอกเป็นแบบบีบรัด แน่นหนัก จุก

                   จากการวิจัยจุดฝังเข็มที่ใช้บ่อยที่สุด 3 อันดับ  หรือแสบหน้าอก อาจรู้สึกหายใจไม่ออกหรือหายใจขัด
                                                                                                [7]
              แรกได้แก่ จุด 内关 (PC6) , 心俞 (BL15) และ      อาการเหล่านี้มีตำาแหน่งของโรคอยู่ที่หัวใจ ทาง

              膻中 (CV16) ส่วนเส้นลมปราณที่ใช้บ่อย 3 อันดับ  กายวิภาคด้านนอกของหัวใจจะมีเยื่อเหนียว ๆ และ
              แรกได้แก่ เส้นมือจเหวียอินเยื่อหุ้มหัวใจ เส้นเท้าไท่  แข็งแรง 2 ชั้นห่อหุ้มหัวใจเอาไว้อยู่ เรียกว่าเยื่อหุ้ม
              หยางกระเพาะปัสสาวะ และเส้นลมปราณเริ่น       หัวใจ (pericardium) มีหน้าที่ป้องกันการกระทบ

                   อาการเจ็บแน่นหน้าอกจากหัวใจขาดเลือด เกิด  กระเทือน หรือเพื่อลดแรงกระทบกระแทกในขณะที่
              จากกล้ามเนื้อหัวใจได้รับเลือดไม่เพียงพอต่อความ  หัวใจทำางาน ตามทฤษฎีการแพทย์แผนจีนเปรียบ
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188