Page 181 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 181
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 319
บทความวิจัยที่เกี่ยวข้องรวมทั้งหมด 607 เรื่อง and Acupointsของสำานักพิมพ์ China Press of
Traditional Chinese Medicine [5]
เนื้อห�ที่ทบทวน
ผลก�รศึกษ�
ใช้โปรแกรม Note Express 2 ในการจัดการ
้
บทความวิจัยที่มีการซำาซ้อนกัน หลังจากนั้นได้มีการ บทความวิจัยที่ค้นหาทั้งหมด 607 เรื่อง คงเหลือ
ตรวจสอบโดยบุคคลอีกครั้งเพื่อความถูกต้องของ บทความวิจัยที่ผ่านเกณฑ์ทั้งสิ้น 111 เรื่อง จัดเป็น
ข้อมูล จากกระบวนการข้างต้นพบว่ามีบทความวิจัย บทความวิจัยที่ใช้จุดฝังเข็มเพียงจุดเดียว 19 เรื่อง
้
ที่ซำากัน 246 เรื่อง คงเหลืออีก 361 เรื่อง จากนั้นได้ บทความวิจัยที่ใช้จุดฝังเข็มคู่กัน 2 จุด 25 เรื่อง และ
มีการคัดเลือกบทความวิจัยอีกครั้งโดยอาศัยเกณฑ์ บทความวิจัยที่ใช้จุดฝังเข็มตั้งแต่ 3 จุดขึ้นไป 59 เรื่อง
inclusion and exclusion criteria ท้ายสุดคงเหลือ จากตารางแสดงให้เห็นว่า
111 เรื่อง ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานนำาเข้าบทความวิจัย 1. ความถี่ในการใช้จุดฝังเข็ม
ซึ่งเกณฑ์ inclusion and exclusion criteria มีดังนี้ จากตารางมีการใช้จุดฝังเข็มทั้งหมด 51 จุด
1. inclusion criteria จุดฝังเข็มที่ถูกใช้บ่อยที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่ 内关
1.1 เป็นบทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ (PC6) , 心俞 (BL15) และ 膻中 (CV16) ทั้ง 3 จุด
แล้วและที่อยู่ในฐานข้อมูลออนไลน์ของสาธารณรัฐ นี้ถูกใช้มากกว่า 40 เรื่องขึ้นไป ซึ่งสรุปได้ว่าจุดฝังเข็ม
ประชาชนจีน 3 จุดนี้มีประสิทธิภาพสูงในการรักษาอาการเจ็บแน่น
1.2 มีการระบุแน่ชัดว่ามีอาการเจ็บแน่น หน้าอกจากหัวใจขาดเลือด
หน้าอกจากหัวใจขาดเลือด ไม่จำากัดเพศ อายุ ระยะ นอกจากนี้บทความวิจัยที่ใช้จุดฝังเข็มเพียง
เวลาการเกิดโรค กลุ่มอาการ จุดเดียวในการรักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากหัวใจ
1.3 การรักษาโดยวิธีฝังเข็มอย่างเดียว หรือ ขาดเลือดมีทั้งสิ้น 19 เรื่อง มี 17 เรื่อง ใช้จุด 内关
ฝังเข็มร่วมกับการใช้ยาจีนก็ได้ (PC6) เพียงจุดเดียว และอีก 2 เรื่องใช้จุด 膻中
2. exclusion criteria (CV16) ซึ่งสรุปได้ว่า จุด 内关 (PC6) มีความสำาคัญ
2.1 บทความวิจัยที่ใช้กับสัตว์ทดลอง อย่างมากในการรักษาอาการนี้
2.2 จุดฝังเข็มที่ไม่ได้อยู่ใน 14 เส้นลมปราณ 2. การกระจายของจุดฝังเข็มบนเส้นลมปราณ
ซึ่งประกอบด้วย 12 เส้นลมปราณหลัก เส้นลมปราณ เส้นลมปราณที่มีการเลือกใช้มากที่สุด 3
ตู และเส้นลมปราณเริ่น อันดับแรกในการรักษาอาการเจ็บแน่นหน้าอกจาก
้
2.3 บทความวิจัยที่มีการตีพิมพ์ซำาซ้อน หัวใจขาดเลือดได้แก่ เส้นมือจเหวียอินเยื่อหุ้มหัวใจ
เลือกเพียง 1 เรื่อง มีความถี่ในการใช้มากถึง 113 ครั้ง คิดเป็น 27.90%
นำาบทความวิจัยที่ผ่านเกณฑ์คัดเลือกทั้ง ถัดมาเป็นเส้นเท้าไท่หยางกระเพาะปัสสาวะ 111 ครั้ง
111 เรื่อง มาสรุปสถิติการใช้จุดฝังเข็มต่าง ๆ ด้วย คิดเป็น 27.41% และเส้นลมปราณเริ่น 54 ครั้ง คิด
โปรแกรม Microsoft Excel 2010 โดยยึดชื่อจุดฝัง เป็น 13.33% เส้นลมปราณที่ถูกเลือกใช้น้อยที่สุดคือ
เข็ม เส้นลมปราณตามหนังสือแบบเรียน Meridians เส้นมือเส้าหยางซานเจียวถูกใช้เพียง 2 ครั้ง คิดเป็น